คำเตือนบทความต่อไปนี้ไม่สามรถหาเเหล่งอ้างอิงที่ถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นได้โปรดใช้วิจารณญาณ
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E_18
เบิร์กมันน์ เอ็มพี 18 (MP18.1) ผลิตโดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ Abteilung Waffenbau เป็นปืนกลมือชนิดแรกของโลกที่ใช้ในสงคราม. เข้าประจำการเป็นอาวุธของกองทัพบกเมื่อ ค.ศ. 1918 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งนี้เอ็มพี 18ได้มีการผลิตขึ้นจนถึง ค.ศ. 1920 โดยได้มีการออกแบบให้มีความกระชับ และ ใช้งานสะดวกซึ่งเป็นที่นิยมในช่วงปี ค.ศ. 1920 - ค.ศ. 1960
อานุภาพการยิงที่รุนแรงของอาวุธชนิดนี้ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้บัญญัติข้อห้ามทำการผลิตอาวุธและยุทธภัณฑ์ในเยอรมนีตามสนธิสัญญาแวร์ซาย ซึ่งรวมถึงปืนกลมือทุกชนิดของเยอรมนี
มันถูกพัฒนาขึ้นบน Concept ของการยิงและเคลื่อนที่และกลยุทธ์การสู้รบแบบแทรกซึมเป็นหลัก เพื่อใช้ในการกวาดล้างทหารข้าศึกในสนามเพลาะ ด้วยระยะที่สั้นและการยิงที่รวดเร็ว ในปี 1915 กองทัพเยอรมันมีการทดสอบปืนไรเฟิลอัตโนมัติที่บริษัท Spandau ในการออกแบบอาวุธชนิดใหม่สำหรับสงครามสนามเพลาะเริ่มแรกนั้นด้วยการโมดิฟายปืน Luger P08 และ Mauser C96 แต่ล้มเหลวเนื่องจากน้ำหนักที่เบาและอัตราการยิงที่สูงถึง 1,200 นัดต่อนาทีจึงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะสามารถยิงได้อย่างแม่นยำ กองทัพเยอรมันจึงเรียกตัววิศวกร Theodor Bergmann มาดูแลเรื่องนี้โดยทํางานกับ Hugo Schmeisser ในทีมพัฒนาร่วมกับวิศวกรอีกหลายคน เมื่อตัวตนแบบสร้างเสร็จได้รับการตั้งชื่อว่า Maschinenpistole 18/I. ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่า I นั้นมีความหมายว่าอย่างไรแต่อย่างไรก็ตามเมื่อ Hugo Schmeisser สานต่องานของ Theodor Bergmann ด้วยการตั้งชื่อปืนกลมือของเขาว่า Maschinenpistole 28/II. เช่นกัน
การผลิตอย่างเต็มรูปแบบไม่ได้เริ่มขึ้นจนถึงปี 1918 ทางเทคนิคแล้วมันไม่ใช่ปืนกลมือชนิดแรกของโลกแต่เป็นปืน Villar-Perosa ของอิตาลีซึ่งเป็นการนำปืนกลประจำอากาศยานมาดัดแปลงให้เป็นอาวุธของทหารราบ
ประจำการในช่วงเวลาสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1918 ในการบุก Kaiserschlacht MP 18 5000 กระบอกได้รับการสร้างและถูกใช้งานอย่างไรก็ตามหากดูจาก Serial number ของอาวุธปืนที่ยึดได้โดยฝ่ายสัมพันธมิตรมีความเป็นไปได้ว่าจะได้รับการสร้างถึง 10000 กระบอกเพื่อสงครามครั้งนี้
MP 18 ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นอาวุธที่ยอดเยี่ยมใน Concept ของการต่อสู้ในสนามเพลาะและกลายเป็นบรรทัดฐานในการออกแบบปืนกลมือในอีกหลายทศวรรษต่อมาโดยสามารถใช้ได้ทั้งกองทหารราบแบบปกติ การสู้รบในเมือง พกพาได้ง่ายและเหมาะกับสงครามกองโจร ถูกใช้งานโดยหน่วยตำรวจของเยอรมันรวมถึงกองกำลังกึ่งทหารอื่นๆในช่วงจบสงครามโลกครั้งที่ 1 และเป็นที่รู้จักดีที่สุดก็คือกองกำลัง Freikorps ที่ทำการปราบปรามกบฏคอมมิวนิสต์ในรัฐบาวาเรียเเละเบอร์ลินโดยได้รับการยอมรับว่าสามารถใช้ในการต่อสู้ในเมืองได้เป็นอย่างดี
การพัฒนาต่อยอด
ในประเทศจีนมีการผลิตเวอร์ชั่นโมดิฟายของ MP 18 ในโรงงาน Tsing Tao โดยการช่วยเหลือจาก Heinrich Vollmer วิศวกรเยอรมันทุกประเทศที่มีโรงงานผลิตอาวุธปืนอย่าง รัสเซีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เชคโกสโลวาเกีย สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ออสเตรีย ญี่ปุ่น ก็ต่างนำระบบปฏิบัติการ blowback จาก MP18 ไปใช้ในปืนกลมือของตัวเองกันทั้งนั้น มันคือบรรพบุรุษโดยตรงของปืนกลมือระบบ blowback ทุกกระบอกบนโลก (ยกเว้นปืน Thompson)
MP 18 ที่ผลิตจากโรงงาน Tsing Tao
ผู้ออกแบบ Theodor Bergmann- Hugo Schmeisser
ช่วงการออกแบบ ค.ศ. 1916
บริษัทผู้ผลิต Bergmann Waffenfabrik
Qingdao Iron Works
ช่วงการผลิต 1918–1920s
ข้อมูลจำเพาะ
น้ำหนัก 4.18 กก. (9.2 ปอนด์)
ความยาว 832 มม. (32.8 นิ้ว)
ความยาวลำกล้อง 200 มม. (7.9 นิ้ว)
กระสุน พาราเบลล์ลัม 9×19มิลลิเมตร (9 พารา)
7.63 เมาเซอร์
การทำงาน open bolt blowback
อัตราการยิง ~500 รอบ/นาที
ความเร็วปากกระบอก 380 เมตร/วินาที (1,247 ฟุต/วินาที)
ระบบป้อนกระสุน 32 detachable drum magazine TM 08 (สงครามโลกครั้งที่ 1); 20, 30 and 50 round detachable box (หลังสงครามโลกครั้งที่ 1)
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 102 Bergmann MP 18
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เบิร์กมันน์ เอ็มพี 18 (MP18.1) ผลิตโดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ Abteilung Waffenbau เป็นปืนกลมือชนิดแรกของโลกที่ใช้ในสงคราม. เข้าประจำการเป็นอาวุธของกองทัพบกเมื่อ ค.ศ. 1918 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งนี้เอ็มพี 18ได้มีการผลิตขึ้นจนถึง ค.ศ. 1920 โดยได้มีการออกแบบให้มีความกระชับ และ ใช้งานสะดวกซึ่งเป็นที่นิยมในช่วงปี ค.ศ. 1920 - ค.ศ. 1960
อานุภาพการยิงที่รุนแรงของอาวุธชนิดนี้ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้บัญญัติข้อห้ามทำการผลิตอาวุธและยุทธภัณฑ์ในเยอรมนีตามสนธิสัญญาแวร์ซาย ซึ่งรวมถึงปืนกลมือทุกชนิดของเยอรมนี
มันถูกพัฒนาขึ้นบน Concept ของการยิงและเคลื่อนที่และกลยุทธ์การสู้รบแบบแทรกซึมเป็นหลัก เพื่อใช้ในการกวาดล้างทหารข้าศึกในสนามเพลาะ ด้วยระยะที่สั้นและการยิงที่รวดเร็ว ในปี 1915 กองทัพเยอรมันมีการทดสอบปืนไรเฟิลอัตโนมัติที่บริษัท Spandau ในการออกแบบอาวุธชนิดใหม่สำหรับสงครามสนามเพลาะเริ่มแรกนั้นด้วยการโมดิฟายปืน Luger P08 และ Mauser C96 แต่ล้มเหลวเนื่องจากน้ำหนักที่เบาและอัตราการยิงที่สูงถึง 1,200 นัดต่อนาทีจึงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะสามารถยิงได้อย่างแม่นยำ กองทัพเยอรมันจึงเรียกตัววิศวกร Theodor Bergmann มาดูแลเรื่องนี้โดยทํางานกับ Hugo Schmeisser ในทีมพัฒนาร่วมกับวิศวกรอีกหลายคน เมื่อตัวตนแบบสร้างเสร็จได้รับการตั้งชื่อว่า Maschinenpistole 18/I. ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่า I นั้นมีความหมายว่าอย่างไรแต่อย่างไรก็ตามเมื่อ Hugo Schmeisser สานต่องานของ Theodor Bergmann ด้วยการตั้งชื่อปืนกลมือของเขาว่า Maschinenpistole 28/II. เช่นกัน
การผลิตอย่างเต็มรูปแบบไม่ได้เริ่มขึ้นจนถึงปี 1918 ทางเทคนิคแล้วมันไม่ใช่ปืนกลมือชนิดแรกของโลกแต่เป็นปืน Villar-Perosa ของอิตาลีซึ่งเป็นการนำปืนกลประจำอากาศยานมาดัดแปลงให้เป็นอาวุธของทหารราบ
ประจำการในช่วงเวลาสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1918 ในการบุก Kaiserschlacht MP 18 5000 กระบอกได้รับการสร้างและถูกใช้งานอย่างไรก็ตามหากดูจาก Serial number ของอาวุธปืนที่ยึดได้โดยฝ่ายสัมพันธมิตรมีความเป็นไปได้ว่าจะได้รับการสร้างถึง 10000 กระบอกเพื่อสงครามครั้งนี้
MP 18 ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นอาวุธที่ยอดเยี่ยมใน Concept ของการต่อสู้ในสนามเพลาะและกลายเป็นบรรทัดฐานในการออกแบบปืนกลมือในอีกหลายทศวรรษต่อมาโดยสามารถใช้ได้ทั้งกองทหารราบแบบปกติ การสู้รบในเมือง พกพาได้ง่ายและเหมาะกับสงครามกองโจร ถูกใช้งานโดยหน่วยตำรวจของเยอรมันรวมถึงกองกำลังกึ่งทหารอื่นๆในช่วงจบสงครามโลกครั้งที่ 1 และเป็นที่รู้จักดีที่สุดก็คือกองกำลัง Freikorps ที่ทำการปราบปรามกบฏคอมมิวนิสต์ในรัฐบาวาเรียเเละเบอร์ลินโดยได้รับการยอมรับว่าสามารถใช้ในการต่อสู้ในเมืองได้เป็นอย่างดี
การพัฒนาต่อยอด
ในประเทศจีนมีการผลิตเวอร์ชั่นโมดิฟายของ MP 18 ในโรงงาน Tsing Tao โดยการช่วยเหลือจาก Heinrich Vollmer วิศวกรเยอรมันทุกประเทศที่มีโรงงานผลิตอาวุธปืนอย่าง รัสเซีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เชคโกสโลวาเกีย สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ ออสเตรีย ญี่ปุ่น ก็ต่างนำระบบปฏิบัติการ blowback จาก MP18 ไปใช้ในปืนกลมือของตัวเองกันทั้งนั้น มันคือบรรพบุรุษโดยตรงของปืนกลมือระบบ blowback ทุกกระบอกบนโลก (ยกเว้นปืน Thompson)
MP 18 ที่ผลิตจากโรงงาน Tsing Tao
ผู้ออกแบบ Theodor Bergmann- Hugo Schmeisser
ช่วงการออกแบบ ค.ศ. 1916
บริษัทผู้ผลิต Bergmann Waffenfabrik
Qingdao Iron Works
ช่วงการผลิต 1918–1920s
ข้อมูลจำเพาะ
น้ำหนัก 4.18 กก. (9.2 ปอนด์)
ความยาว 832 มม. (32.8 นิ้ว)
ความยาวลำกล้อง 200 มม. (7.9 นิ้ว)
กระสุน พาราเบลล์ลัม 9×19มิลลิเมตร (9 พารา)
7.63 เมาเซอร์
การทำงาน open bolt blowback
อัตราการยิง ~500 รอบ/นาที
ความเร็วปากกระบอก 380 เมตร/วินาที (1,247 ฟุต/วินาที)
ระบบป้อนกระสุน 32 detachable drum magazine TM 08 (สงครามโลกครั้งที่ 1); 20, 30 and 50 round detachable box (หลังสงครามโลกครั้งที่ 1)