(1)
ยุคสมัยศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย
1.ศิลปะชวาภาคกลาง (พุทธศตวรรษ ที่ 12-16)
2.ศิลปะชวาภาคตะวันออก (พุทธศตวรรษ ที่ 16-20)
3.ศิลปะบาหลี (พุทธศตวรรษ ที่ 20-ปัจจุบัน)
(2)
ศิลปะชวาภาคกลาง
1.ศิลปะอินเดียเข้ามามีบทบาทตั้งแต่พุทธศตวรรษ ที่ 12-16
2.มีศูนย์กลางอยู่แถบภาคกลาง
-แถบเมืองยอกยาการ์ต้า
-แถบเมืองมาเกลัง
-แถบเมืองโวโนโซโบ
-แถลเมืองโซโล
3.ได้รับการอุปถัมป์จาก 2ราชวงศ์
-ราชวงศ์ สัญชัย หรือ มะตะราม นับถือศาสนาฮินดู
-ราชวงศ์ ไศเลนทร์ ศาสนา พุทธ มหายาน
(3)
ศิลปะชวาภาคกลางแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.ศิลปะชวาภาคกลางตอนต้น
2.ศิลปะชวาภาคกลางตอนกลาง
3.ศิลปะชวาภาคกลางตอนปลาย
(4)
ศิลปะชวาภาคกลางตอนต้น ตอน ต้น
*รูปแบบสถาปัตยกรรมยังคล้ายคลึงศิลปะอินเดียอยู่
*นัยถือศาสนาฮินดูปกคลองภายใต้ราชวงศ์สัญชัย
ศิลปะ ที่ สำคัญได้แก่
จันทิ
เป็น ภาษา ชวา หมายถึงสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหรือเทวรูป อาจเพี้ยนมาจาก จัณฑีซึ่งเป็นพระนามหนึ่งของนางทุรคา เทพีแห่งความตาย อาจสันนิษฐานว่าจันทิบางแห่งอาจเป็นสถานที่ที่เกี่ยวกับความตายหรือที่บรรจุอัฐิชนชั้นสูง
มักสร้างด้วยหิน
มักสร้างอยู่บนที่ราบสูงเดียฃ
ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกคลองของราชวงศ์สัญชัยที่อุปถัมป์ศาสนาฮินดู
โดยมีจันทิที่สำคัญคือ
จันทิอรชุน
จันทิภีมะ
เครดิต
1.ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง อินเดีย ลังกา ชวา จาม ขอม พม่า ลาว
โดย ศ. หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล
2.ประวัติศาสตร์ศิลปะ อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดย Chedha Tingsanchali
3.ศิลปะชวา
โดย อ้างแล้วข้อ 2.
ติดตามพาร์ทต่อไปเร็วๆนี้ครับ
ศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย
ยุคสมัยศิลปะในประเทศอินโดนีเซีย
1.ศิลปะชวาภาคกลาง (พุทธศตวรรษ ที่ 12-16)
2.ศิลปะชวาภาคตะวันออก (พุทธศตวรรษ ที่ 16-20)
3.ศิลปะบาหลี (พุทธศตวรรษ ที่ 20-ปัจจุบัน)
(2)
ศิลปะชวาภาคกลาง
1.ศิลปะอินเดียเข้ามามีบทบาทตั้งแต่พุทธศตวรรษ ที่ 12-16
2.มีศูนย์กลางอยู่แถบภาคกลาง
-แถบเมืองยอกยาการ์ต้า
-แถบเมืองมาเกลัง
-แถบเมืองโวโนโซโบ
-แถลเมืองโซโล
3.ได้รับการอุปถัมป์จาก 2ราชวงศ์
-ราชวงศ์ สัญชัย หรือ มะตะราม นับถือศาสนาฮินดู
-ราชวงศ์ ไศเลนทร์ ศาสนา พุทธ มหายาน
(3)
ศิลปะชวาภาคกลางแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.ศิลปะชวาภาคกลางตอนต้น
2.ศิลปะชวาภาคกลางตอนกลาง
3.ศิลปะชวาภาคกลางตอนปลาย
(4)
ศิลปะชวาภาคกลางตอนต้น ตอน ต้น
*รูปแบบสถาปัตยกรรมยังคล้ายคลึงศิลปะอินเดียอยู่
*นัยถือศาสนาฮินดูปกคลองภายใต้ราชวงศ์สัญชัย
ศิลปะ ที่ สำคัญได้แก่
จันทิ
เป็น ภาษา ชวา หมายถึงสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหรือเทวรูป อาจเพี้ยนมาจาก จัณฑีซึ่งเป็นพระนามหนึ่งของนางทุรคา เทพีแห่งความตาย อาจสันนิษฐานว่าจันทิบางแห่งอาจเป็นสถานที่ที่เกี่ยวกับความตายหรือที่บรรจุอัฐิชนชั้นสูง
มักสร้างด้วยหิน
มักสร้างอยู่บนที่ราบสูงเดียฃ
ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกคลองของราชวงศ์สัญชัยที่อุปถัมป์ศาสนาฮินดู
โดยมีจันทิที่สำคัญคือ
จันทิอรชุน
จันทิภีมะ
เครดิต
1.ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง อินเดีย ลังกา ชวา จาม ขอม พม่า ลาว
โดย ศ. หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล
2.ประวัติศาสตร์ศิลปะ อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดย Chedha Tingsanchali
3.ศิลปะชวา
โดย อ้างแล้วข้อ 2.
ติดตามพาร์ทต่อไปเร็วๆนี้ครับ