ดีละ ดีละ อนุรุทธะ ! ดีละ ที่เธอตรึกแล้ว ซึ่งมหาปุริสวิตก ว่า : -
“ ๑. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีความปรารถนาน้อย, ธรรมมะนี้ มิใช่สำหรับผู้ปรารถนาใหญ่.
๒. ธรรมะนี้ สำหรับผู้สันโดษ, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้ไม่สันโดษ.
๓. ธรรมะนี้ สำหรับผู้สงบสงัด, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้ยินดีด้วยการคลุกคลีในหมู่.
๔. ธรรมะนี้ สำหรับผู้ปรารภความเพียร, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้เกียจคร้าน.
๕. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีสติอันเข้าไปตั้งไว้, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้มีสติอันหลงลืม.
๖. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่น, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้มี จิตไม่ตั้งมั่น.
๗. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีปัญญา, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้ทรามปัญญา ดังนี้.
อนุรุทธะ ! แต่เธอควรจะตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ด้วยว่า :-
“๘. ธรรมะนี้ สำหรับผู้พอใจในความไม่เนิ่นช้า๑, ผู้ยินดีในความไม่เนิ่นช้า, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้พอใจในความเนิ่นช้า ผู้ยินดีในความเนิ่นช้า” ดังนี้.
๑.ธรรมที่ทำความเนิ่นช้าแก่การบรรลุนิพพาน คือตัณหา มานะ ทิฏฐิ. เขาเป็นผู้ยินดีพอใจในความปราศจากตัณหา มานะ ทิฏฐิ.
การดำรงชีพชอบของพระอริยเจ้า(พระสูตร)
“ ๑. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีความปรารถนาน้อย, ธรรมมะนี้ มิใช่สำหรับผู้ปรารถนาใหญ่.
๒. ธรรมะนี้ สำหรับผู้สันโดษ, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้ไม่สันโดษ.
๓. ธรรมะนี้ สำหรับผู้สงบสงัด, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้ยินดีด้วยการคลุกคลีในหมู่.
๔. ธรรมะนี้ สำหรับผู้ปรารภความเพียร, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้เกียจคร้าน.
๕. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีสติอันเข้าไปตั้งไว้, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับผู้มีสติอันหลงลืม.
๖. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีจิตตั้งมั่น, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้มี จิตไม่ตั้งมั่น.
๗. ธรรมะนี้ สำหรับผู้มีปัญญา, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้ทรามปัญญา ดังนี้.
อนุรุทธะ ! แต่เธอควรจะตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ด้วยว่า :-
“๘. ธรรมะนี้ สำหรับผู้พอใจในความไม่เนิ่นช้า๑, ผู้ยินดีในความไม่เนิ่นช้า, ธรรมะนี้ มิใช่สำหรับสำหรับผู้พอใจในความเนิ่นช้า ผู้ยินดีในความเนิ่นช้า” ดังนี้.
๑.ธรรมที่ทำความเนิ่นช้าแก่การบรรลุนิพพาน คือตัณหา มานะ ทิฏฐิ. เขาเป็นผู้ยินดีพอใจในความปราศจากตัณหา มานะ ทิฏฐิ.