คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 11
ขยายความถึงเรื่องอุณหภูมิของโลกที่ไม่มีดวงอาทิตย์ในเชิงทฤษฎีให้
ความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในแกนโลก มีอยู่ประมาณ 47 TW (อ่านว่า 47 ล้านล้านวัตต์) ซึ่งพลังงานตรงนี้จะสูญเสียออกจากโลกได้ด้วยการแผ่รังสีตามกฎของ Stefan–Boltzmann และ โดยที่ เมื่อไร้ดวงอาทิตย์ ความร้อนจะสูญหายออกไปจากผิวโลก เปลี่ยนน้ำเป็นน้ำแข็ง ซึ่ง น้ำแข็ง มีสภาพเป็นทั้งฉนวน และเป็นตัวป้องกันการสูญเสียความร้อนจากการแผ่รังสี ค่า Albedo ของโลก จะเพิ่มจาก 30% มาที่เกือบ 90% สัมประสิทธิ์การแผ่รังสีของโลกที่คลุมด้วยน้ำแข็งสีขาวจะมีค่าประมาณ 0.1
คุณสามารถคำนวณ อุณหภูมิสมดุลของผิวโลกได้ด้วยสมการ q = εσ(TE4-TS4)
q = Flux ความร้อนสูญเสียจากแกนโลกผ่านพื้นผิว = 0.11 W/m2
ε = emissivity ของโลก ซึ่งจะเหลือแค่ 0.1 เมื่อโลกถูกคลุมด้วยน้ำแข็งทั้งหมด
σ = Stefan-Boltzmann constant = 5.67x10-8 W/m2.K4
TE = อุณหภูมิของผิวโลก
TS = อุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศ ประมาณ 4 เคลวิน หรือ -269 องศาเซลเซียส
ลองกดเครื่องคิดเลขดูอุณหภูมิของโลกจะอยู่ที่ 65 เคลวิน หรือ -207 oC
ทั้งนี้ ออกซิเจนจะกลายเป็นของเหลวที่ -218 oC ณ ความดันบรรยากาศ ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ก็จะเป็นของเหลวที่ -78oC เรียกว่าโลกข้างบน ไม่เหมาะสมจะดำรงชีวิตอยู่ได้เอาเลย
ความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในแกนโลก มีอยู่ประมาณ 47 TW (อ่านว่า 47 ล้านล้านวัตต์) ซึ่งพลังงานตรงนี้จะสูญเสียออกจากโลกได้ด้วยการแผ่รังสีตามกฎของ Stefan–Boltzmann และ โดยที่ เมื่อไร้ดวงอาทิตย์ ความร้อนจะสูญหายออกไปจากผิวโลก เปลี่ยนน้ำเป็นน้ำแข็ง ซึ่ง น้ำแข็ง มีสภาพเป็นทั้งฉนวน และเป็นตัวป้องกันการสูญเสียความร้อนจากการแผ่รังสี ค่า Albedo ของโลก จะเพิ่มจาก 30% มาที่เกือบ 90% สัมประสิทธิ์การแผ่รังสีของโลกที่คลุมด้วยน้ำแข็งสีขาวจะมีค่าประมาณ 0.1
คุณสามารถคำนวณ อุณหภูมิสมดุลของผิวโลกได้ด้วยสมการ q = εσ(TE4-TS4)
q = Flux ความร้อนสูญเสียจากแกนโลกผ่านพื้นผิว = 0.11 W/m2
ε = emissivity ของโลก ซึ่งจะเหลือแค่ 0.1 เมื่อโลกถูกคลุมด้วยน้ำแข็งทั้งหมด
σ = Stefan-Boltzmann constant = 5.67x10-8 W/m2.K4
TE = อุณหภูมิของผิวโลก
TS = อุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศ ประมาณ 4 เคลวิน หรือ -269 องศาเซลเซียส
ลองกดเครื่องคิดเลขดูอุณหภูมิของโลกจะอยู่ที่ 65 เคลวิน หรือ -207 oC
ทั้งนี้ ออกซิเจนจะกลายเป็นของเหลวที่ -218 oC ณ ความดันบรรยากาศ ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ก็จะเป็นของเหลวที่ -78oC เรียกว่าโลกข้างบน ไม่เหมาะสมจะดำรงชีวิตอยู่ได้เอาเลย
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 24
คำตอบ จะถูก2ข้อ เพราะวงโคจรของดาวเคราะจะเปลี่ยนไปด้วย ไม่ใช่ข้อเดียวที่อุณหภูมิของโลกเปลี่ยน เหตุเพราะ
แรงโน้มถ่วง ถึงจะขึ้นอยู่กับ มวลแต่ ปริมาตรที่ต่าง..แม้มวลเท่ากัน ก็จะส่งผล ต่อความหนาแน่นของแรงโน้มถ่วงบริเวณ พื้นผิว หรือเส้นรอบวง รวมไปถึงขอบฟ้าเหตุการ ด้วย เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น
ดาว พฤหัสบดี มีมวล มากกว่าโลกถึง318เท่า แต่ด้วย ความหนาแน่น ต่อ ปริมาตรที่น้อยกว่า กลับ มีแรงโน้มถ่วงพื้นผิว มากกว่าโลกเพียง2.53เท่า
แสดงให้เห็น ว่า แม่มวลที่เท่ากันแต่ปริมาตร ต่าง ก็ส่งผล ถึงรัศมีแรงโน้มถ่วงได้
ดังนั่น เมื่อ ดาว มีขนาดเล็กลง นับจากขอบฟ้าเหตุการเหลือเพียง6กิโลเมตรแล้ว
แต่ระยะทาง รัศมีที่ส่งผล ต่อวงโคจร ของดาว ในระบบ สุริยะ ยังห่างไกล เท่าเดิม
แรงเข้ม ที่ดึงดูด รักษาวงโคจร ของดาวต่างๆไว้ จะน้อยลง ตาม รัศมีที่น้อยลงไป
อาจทำให้ไม่เพียงพอ ที่จะคงรูปการโคจรระบบสุริยะของเราไว้เช่นเดิมครับ
แรงโน้มถ่วง ถึงจะขึ้นอยู่กับ มวลแต่ ปริมาตรที่ต่าง..แม้มวลเท่ากัน ก็จะส่งผล ต่อความหนาแน่นของแรงโน้มถ่วงบริเวณ พื้นผิว หรือเส้นรอบวง รวมไปถึงขอบฟ้าเหตุการ ด้วย เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น
ดาว พฤหัสบดี มีมวล มากกว่าโลกถึง318เท่า แต่ด้วย ความหนาแน่น ต่อ ปริมาตรที่น้อยกว่า กลับ มีแรงโน้มถ่วงพื้นผิว มากกว่าโลกเพียง2.53เท่า
แสดงให้เห็น ว่า แม่มวลที่เท่ากันแต่ปริมาตร ต่าง ก็ส่งผล ถึงรัศมีแรงโน้มถ่วงได้
ดังนั่น เมื่อ ดาว มีขนาดเล็กลง นับจากขอบฟ้าเหตุการเหลือเพียง6กิโลเมตรแล้ว
แต่ระยะทาง รัศมีที่ส่งผล ต่อวงโคจร ของดาว ในระบบ สุริยะ ยังห่างไกล เท่าเดิม
แรงเข้ม ที่ดึงดูด รักษาวงโคจร ของดาวต่างๆไว้ จะน้อยลง ตาม รัศมีที่น้อยลงไป
อาจทำให้ไม่เพียงพอ ที่จะคงรูปการโคจรระบบสุริยะของเราไว้เช่นเดิมครับ
แสดงความคิดเห็น
จะเกิดไรขึ้นหาก จู่ ๆ ดวงอาทิตย์ของเราถูกแทนที่ด้วยหลุมดำที่มวลเท่ากัน
พบว่าหลายคนคาดว่าหลุมดำที่เกิดขึ้นจะมีแรงดึงดูดมหาศาลจนรบกวนวงโคจรโลก จนอาจกลืนโลกไปได้เลย
แต่จริง ๆ คำตอบที่ถูกต้องคือ แค่อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนไป ผมเลยอยากมาแชร์คำตอบให้ฟังกัน
จุดชี้วัดคือมวลของหลุมดำเท่ากับดวงอาทิตย์ครับ
หลายคนคิดว่าเมื่อเป็นหลุมดำ แรงดึงดูดจะเพิ่มขึ้นมหาศาลจนรบกวนวงโคจรของโลกได้ แต่จริง ๆ ผลของแรงดึงดูดนั้นขึ้นอยู่กับมวลที่วัตถุมี หากจู่ ๆ เกิดหลุมดำที่มวลเท่ากันมาแทนที่ดวงอาทิตย์ โลกก็ยังโคจรวัตถุที่มวลเท่าเดิม ในวงโคจรเดิมไม่เปลี่ยน รวมถึงดาวเคราะห์อื่น ๆ ก็จะยังโคจรแบบเดิมเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
อีกอย่างคือหลุมดำที่มีมวลเท่าดวงอาทิตย์จะมีเส้นขอบฟ้าเหตุการณ์ที่กว้างเพียง 6 กิโลเมตรเท่านั้น หรือขอบเขตที่แสงไม่สามารถหนีได้นั้นจิ๋วสุด ๆ เล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดดวงอาทิตย์ที่เส้นผ่านศูนย์กลางเกือบ 1.4 ล้านกิโลเมตร คุณต้องบินเข้าไปใกล้มาก ๆ เท่านั้นจึงจะรู้สึกถึงผลของหลุมดำจริง ๆ
แต่สิ่งที่เปลี่ยนคือแสงและอุณหภูมิครับ และนี่คือความน่ากลัวที่จะเกิดขึ้น
- ในสองวันประชากรโลกน่าจะตายไปเกินครึ่งเนื่องจากทนอากาศที่หนาวเหน็บไม่ไหว
- ภายในสองเดือนชั้นบรรยากาศน่าจะควบแน่นกลายเป็นฝนน้ำแข็งลงมาทั้งหมด
---------------------
อยากอ่านเรื่องเกี่ยวกับอวกาศที่น่าสนใจอื่น ๆ ผมลงประจำสั้น ๆ ในเพจ
https://www.facebook.com/GalaxyExpressNews/