พวกเรามักจะลืมเลือนเหตุการณ์สำคัญต่างๆในอดีตเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของมวลมหาประชาชน งานเขียนที่สำคัญทางการเมืองแสดงให้เห็นว่า ในปี 1945 ประเทศในแถบยุโรปตะวันออกได้ถูกรัสเซียยึดครองแล้วค่อยๆทำการถอนรากถอนโคนระบบและทำการควบคุมประชาชนภายใต้ความหวาดกลัว แต่ดูเหมือนเกือบทุกๆคนสามารถที่จะอธิบายได้ถึงความเจ็บปวดจากการกระทำของฝ่ายอนุรักษ์นิยมหรือระบอบกษัตริย์ในยุค 1945 ซึ่งไม่ได้รับเพียงแค่ “เสรีภาพ” เท่านั้น แต่ยังเป็น “การปฎิวัติ” อีกด้วย ระบบใหม่เริ่มต้นจากความเป็นพหุนิยมกับประชาธิปไตย พบว่าในประเทศฮังการีมีอาสาสมัครหลายหมื่นคนที่รอดชีวิตในกองทัพแดงในปี 1919 และผู้เข้าร่วมการปฎิวัติในปี 1919 กับสภาก็มีหลายหมื่นคน รวมไปถึงสมาชิกสหภาพแรงงานหลายหมื่นคนก็ได้มีการเรียนรู้จากแนวคิดมาร์กซิสต์จากสังคมประชาธิปไตยด้วยเช่นกัน
สิ่งที่เกิดขึ้นในเวลาปัจจุบันนี้ก็คือ ความจริงแล้วพรรคคอมมิวนิสต์ที่ผิดกฎหมายมีสมาชิกเพียงไม่กี่ร้อยคนเท่านั้น จึงมีข้อสงสัยเล็กน้อยเมื่อคุณพบว่า ความเป็นสมาชิกนำไปสู่การจำคุกสถานหนัก โดยมีผู้นำพรรค 2 คนที่ติดคุกเป็นเวลา 16 ปี แต่สภาพแวดล้อมแนวคิดคอมมิวนิสต์กับการปลดแอกของฝ่ายซ้ายโดยฝ่ายสังคมประชาธิปไตยกับกลุ่มสหภาพแรงงานอย่างเช่นแรงงานเหล็กกับช่างเรียงพิมพ์ที่มาจากแรงงานขาดทักษะตลอดจนถึงศิลปินแถวหน้าก็มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มใหญ่ แต่ละกลุ่มมีสมาชิกที่มาจากภาคเกษตรกรรมกว่า 1 ล้านที่ระดมแนวคิดการปฎิรูปที่ดิน กลุ่มผู้ที่ลงคะแนนเสียงล้วนแล้วไม่ได้มีแนวคิดต่อต้านคอมมิวนิสต์แต่อย่างใด
แต่อย่างไรก็ตามในปี 1945 ก็มีสัญญาณที่แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำเก่ากับชนชั้นนำทางการเมืองเริ่มมาถึงจุดสิ้นสุดแล้ว เป็นจุดสิ้นสุดของการถือครองที่ดินโดยชนชั้นสูงที่สร้างความมั่งคั่งอย่างมหาศาลและล้วนแล้วเป็นเหล่าบรรดากลุ่มศักดินาเหล่าคาทอลิกที่มีการแต่งตั้งตามขนบธรรมเนียมประเพณีและมีการถือครองที่ดินขนาดใหญ่ไพศาลจากกลุ่มเจ้าหน้าที่หัวโบราณกับกลุ่มเหล่าข้าราชการชนชั้นสูง และยังเป็นจุดสิ้นสุดของกลุ่มเหล่าตำรวจทหารที่ชอบข่มขู่คุกคามคนชนบทโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือผิดมนุษย์ธรรมและเป็นจุดสิ้นสุดของการใช้กฎหมายการเหยียดเชื้อชาติจนถึงชาติพันธุ์กับการแบ่งแยกทางเพศ
การปกครองแบบคอมมิวนิสต์ได้เริ่มต้นจากสภาสูงสุดของโซเวียต (ไม่ได้พูดถึงกรณีอดีตนักโทษสงครามหลายคนที่ถูกควบคุมตัวจากฝ่ายบอลเชวิคในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซียในปี 1918-20) โดยมีการควบคุมพรรคการเมืองและอำนาจทางการทหารของโซเวียต แต่จะเห็นได้ว่าแรงงานทั้งจากฝ่ายสังคมนิยมกับคอมมิวนิสต์และภาคเกษตรกรรมต้องการที่จะให้มีรูปแบบการปกครองด้วยสังคมนิยม โดยผู้คนส่วนหนึ่งก็ยังคิดว่าระบอบประชาธิปไตยยังไม่มีความน่าเชื่อถือมากพอ พวกเขาต้องการรูปแบบคอมมูน (ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อของ Kommün) สังคมนิยมโดยรวมจะมุ่งเน้นในเรื่องของการผลิต ความเสมอภาคของผู้บริโภค ให้เรียนฟรี สามารถทำแท้งและทำการหย่าร้างได้ ทั้งฝ่ายกองทัพกับตำรวจและระบบสภาทำงานร่วมกันในแต่ละพื้นที่ พวกเราคงรู้ดีกับสิ่งที่สตาลินได้ทำทั้งหมดนี้ ผู้คนส่วนใหญ่ล้วนต่อสู้ด้วยแนวคิดฝ่ายซ้ายและผู้คนก็มีแนวโน้มที่จะลืมเลือนสังคมประชาธิปไตยในช่วงปี 1940 ที่ฝ่ายซ้ายพรรคคอมมิวนิสต์ได้บริหารประเทศ นี่จึงเป็นเหตุผลที่ทำไมผู้คนจึงถูกกดขี่ข่มเหงอย่างไร้ความปรานี
อย่างไรก็ตามในปี 1950 ฝ่ายต่อต้านระบบศักดินากับฝ่ายต่อต้านเทวาธิปไตก็ได้ปรับมาตรการและจัดสรรปันส่วนสิทธิพิเศษให้กับชนชั้นกรรมมาชีพเสียใหม่เพื่อรับมือกับฝ่ายทรราช รัฐตำรวจ การเซ็นเซอร์ นโยบายปรับทัศนคติอย่างแข็งกร้าว ความคลั่งไคล้และความยากจน ซึ่งก็เป็นเรื่องดีแต่จะเห็นได้ชัดว่า สังคมยังมีอคติกับชนชั้นล่างอยู่มาก เช่นกันการปฎิวัติวัฒนธรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้เรียนฟรี การซื้อหนังสือในราคาถูก สร้างอุตสาหกรรมสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีรูปแบบที่ทันสมัย โดยประหยัดต้นทุน ตลอดจนถึงเข้าถึงโรงละครฟรี คอนเสิร์ตฟรีและได้รับตั๋วดูหนังฟรี เข้าพิพิธภัณฑ์ฟรี สร้างโรงเรียนอนุบาล สร้างที่พักอาศัยเพื่อสังคม รวมไปถึงการแก้ปัญหาความขาดแคลนทั้งเรื่องอาหารกับปัจจัยสี่ ซึ่งจะเห็นได้ว่าจากรูปภาพทั้งคนผิวขาวและดำที่ดูแล้วอนาถามาก รวมไปถึงปรับปรุงอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อมทั้งหมด เป็นที่ชัดเจนว่าการทำงานด้วยแรงงานอยู่จุดบนสูงของสังคมและเป็นการสร้างมูลค่าในช่วงแรกของประวัติศาสตร์โลก (ยังไม่มีแนวคิดเรื่องจิตวิญญาณจากฝั่งวัดวาอารามหรือเลือดสีน้ำเงินจากฝ่ายกษัตริย์ รวมไปถึงฟากฝ่ายคณาธิปไตยกับชนชั้นสูงหรือชนชั้นกลางบน)
แนวคิดต่างๆในส่วนของสังคมนิยมกับการปฎิบัติไม่ได้ตอบโจทย์เบื้องต้นให้กับคนทั้งหมดที่ต้องการปลดแอกจากระบอบการปกครองของสตาลินหลังจากที่จอมเผด็จการผู้นี้เสียชีวิตลงในปี 1953 โดยสรุปแล้วเกี่ยวกับการปฎิรูปนั้น ก็เป็นหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี Imre Nagy (เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องคอมมิวนิสต์ที่กลับมาในปี 1945 จากการถูกเนรเทศในกรุงมอสโคว์) โดยเขามีเป้าหมายในการรื้อฟื้นหรือก่อร่างสร้าง “สังคมนิยมแท้” ประกอบไปด้วยการสะสมเสบียงอาหาร มีเครื่องทำความร้อน มีร้านค้าต่างๆ ไม่ทำงานหนักเกินไปและไม่มีแพะติดคุก และโดยเฉพาะการยุติการโฆษณาชวนเชื่อหลอกลวงทั้งหลายที่สร้างความกลัวให้กับแรงงาน โดยจะมุ่งเน้นสร้างความเชื่อมั่นเป็นองค์ประกอบสำคัญ
ในช่วงศตวรรษที่ 20 ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปี 1956 สภาพรรคคอมมิวนิสต์ของโซเวียตนั้น ทางด้านนิกิต้า ครุสชอฟก็ได้กล่าวถึงเรื่องราวการก่ออาชาญากรรมของสตาลินผ่านไปยังสมาชิกพรรคหลายล้านคนและเผยแพร่ข่าวนี้ไปทั่วสารทิศไปยังทาง BBC ฮังการี The Voice Of America กับ Radio Free Europe กับสถานีวิทยุกระจายเสียงภาษาฮังการี หลังจากนั้นผู้นำระบอบสตาลิน Mátyás Rákosi ก็ได้ทำการลาออกและให้นักปฎิรูป Imre Nagy ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (เขาถูกไล่ในปี 1955) เหตุการณ์ที่สำคัญก็คือ มีการกอบกู้และทำการพิธีฝังศพทางศาสนาใหม่ของ László Rajk ซึ่งเป็นอดีตเลขาธิการคณะกรรมการระดับชาติ โดย Rajk ได้ถูกกล่าวหาจนถูกตัดสินประหารชีวิตในปี 1949 เขาได้ถูกทำพิธีฝังศพใหม่ในวันที่ 6 ตุลาคม ปี 1956 อย่างสมเกียรติ์ โดยมีผู้คนหลายพันคนเข้าร่วมงานครั้งนี้ วันที่ 6 ตุลาคม ก็เป็นวันสำคัญในประเทศฮังการี โดยนายทหารระดับสูงของฮังการี 13 คนที่เป็นกบฏได้ถูกประหารชีวิตโดยฝ่ายต่อต้านการปฎิวัติในวันเดียวกันในปี 1849 (และจะต้องเข้าใจด้วยว่า Count Batthyány ซึ่งเป็นหนึ่งในนายกรัฐมนตรีในการปฎิวัติปี 1848 ก็ถูกยิงเป้าใน Pest ด้วยเช่นกัน)
ในส่วนนี้จะมีเรื่องของการรื้อฟื้นความเชื่อมั่น การวินิจฉัยถึงความเป็นสังคมนิยมแท้พร้อมกับความยุติธรรม มีการรื้อถอนระบอบสตาลินและทำพิธีกรรมการฟังศพให้กับ Rajk ใหม่ด้วยสโลแกนที่ว่า “Never Again” เพื่อให้เป็นไปตามอุดมการณ์การปฎิวัติฮังการีในปี 1956
ปฎิวัติจิตสำนึกที่แย่
เป็นอีกครั้งที่พวกเราจะต้องจำเอาไว้ว่า ฝ่ายกบฏต่อต้านระบอบสตาลินได้ก่อกำเนิดและเริ่มปฎิบัติการในปี 1945 โดยมุ่งเน้นในเรื่องของความเท่าเทียมกันทางสังคมในการโค่นล้มรูปแบบการปกครองกิ่งศักดินาและมุ่งเน้นให้ชนชั้นแรงงานเข้ามามีบทบาททางการเมืองสูงสุด สังคมนิยมจะต้องมุ่งเน้นการผลิต กรรมสิทธิ์ทุกอย่างจะเป็นของรัฐไม่ว่าจะเป็นธนาคาร การบริการขนส่งมวลชน การเคหะ การจัดสรรปันส่วนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน บริหารจัดการกับแรงงานในรัฐวิสาหกิจ สร้างระบบพรรคการเมืองเพื่อต่อต้านลัทธิฟาสซิสม์ สร้างศัตรูให้เป็นมิตรในประเทศแถบยุโรปตะวันออก ทำการต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ใช้นโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศ ให้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ผู้หญิงทุกคนจะต้องได้รับค่าแรงอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการเรียนฟรีและฝึกอบรมให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีและอื่นๆ สิ่งต่างๆเหล่านี้ถูกปฎิเสธโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวของระบอบสตาลินและการรื้อฟื้นประเด็นต่างๆเหล่านี้ก็เริ่มหดหายไปทุกที
ในกลุ่มต่างๆไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสหภาพแรงงาน สมาคมนักศึกษาและกลุ่มปัญญาชนได้ทำการโต้เถียงและพูดคุยในประเด็นเกี่ยวกับจุดสิ้นสุดระบอบการปกครองแบบเผด็จการ สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ หลายเดือนที่ผ่านมามีการสำนึกผิดและมีการตำหนิตัวเองจากฝ่ายปัญญาชนคอมมิวนิสต์ที่ทำเป็นมองไม่เห็นถึงความเลวทรามต่ำช้า ไม่ยอมทำการวิพากษ์วิจารณ์ คลั่งไคล้และดูเหมือนจะศรัทธาต่อระบอบสตาลินและพวกเขายังมีการสมคบคิดในการตอบโต้ผู้คนอย่างโหดร้ายป่าเถื่อนในระบอบสตาลินที่จะสถาปนารัฐทุนนิยม สโลแกน “Never Again!” ในช่วง 6 ตุลาคมเป็นการเตรียมรับมือสถานการณ์พิเศษในการทดสอบจิตสำนึกในการปฎิวัติครั้งใหม่ ยกระดับแรงจูงใจในการปฎิวัติเพื่อเสรีภาพครั้งใหม่ ในช่วงปี 1945 กับ 1956 นั้น มีนักกวีชื่อดังหลายคนก็ได้เขียนบทกลอน ทั้งคำสารภาพและเขียนหนังสือที่ยังมีให้เห็นจนถึงทุกวันนี้ สร้างแรงกระเพื่อมในการวาดมโนคติทางสังคม สิ่งนี้ทำให้เกิดการวิจารณ์ความคิดตัวเองของกลุ่มปัญญาชนคอมมิวนิสต์ที่ได้ช่วยยืดเวลาให้กับกลุ่มผู้นำพรรคและผู้บริสุทธิ์ที่เป็นฝ่ายซ้ายก็ได้รับอิสระจากคุกจองจำจากระบอบสตาลินที่แสดงให้เห็นว่า เสรีภาพได้รับการปลดปล่อยแล้ว ซึ่งพวกเขาไม่ได้คิดแก้แค้นแต่ขอเพียงแค่ความยุติธรรมเท่านั้น
ความเป็นผู้นำพรรคเริ่มมีความไม่แน่นอนจากการถูกให้เข้าร่วมเคลื่อนไหวหรือให้มีการระงับการใช้ความรุนแรง แนวคิดต่างๆทั้งหมดเกี่ยวกับการปฎิวัติสังคมนิยมได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง จึงมีการรวมกันกันโต้เถียงในประเด็นต่างๆในการรำลึกเหตุการณ์ในอดีตในกรุงปารีสที่มีกลุ่มนักเคลื่อนไหว Nuit Debout ออกโรง แต่โดยรวมแล้วก็มีการให้คำมั่นสัญญาว่าจะรื้อฟื้นระบบสังคมนิยมใหม่ จึงเป็นที่แน่ชัดแล้วว่า ไม่มีใครอยากที่จะได้ฟังคนที่สนับสนุนแนวทางทุนนิยมหรือรื้อฟื้นแนวคิดปฎิกิริยา ผู้คนส่วนใหญ่ไม่อยากฟังเรื่องพวกนี้ สิ่งที่น่าสนใจก็คือปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศโปแลนด์ ยังมีสิ่งที่น่าสนใจในการทดลองการบริหารจัดการแรงงานในยูโกสลาเวียและกลุ่มประเทศโลกที่สามที่มีแนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย
แต่คนส่วนใหญ่ทุกๆคนนี้ก็มีแนวโน้มที่จะลุกฮือขึ้นสู้ รื้อถอนระบอบสตาลิน ให้โอกาสกลุ่ม Nomenklatura ในการสู้รบและเลิกคิดที่จะหวาดกลัวกับต่างชาติ ต่อมาก็ให้แนวคิดที่ชื่อ “ชาตินิยม” โดยมีผู้สังเกตการณ์ภายนอกก็ไม่ได้ให้ความสำคัญมากไปกว่าความเท่าเทียมกันระหว่างชาติสังคมนิยม แน่นอนหมายความว่าพวกเขาไม่ยอมรับกับการที่รัสเซียเข้ามาแทรกแซง พูดง่ายๆก็คือมุ่งเน้นสร้างนโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศ แต่ประเด็นที่สำคัญก็คือ มีความไม่ไว้วางใจกันระหว่างเจ้าหน้าที่ที่มีความต้องการดำเนินการให้เป็นด้วยความจริงใจ ซื่อตรงและมีความรับผิดชอบต่อการปฎิวัติด้วยความบริสุทธิ์
หนุ่มสาวที่เป็นนักสังคมนิยมก็ยอมที่จะให้อภัยกับคนที่โดนจูงจมูกจากการโฆษณาชวนเชื่อระบอบสตาลิน และจริงๆแล้วมีทั้งปัญญาชนกับนักเคลื่อนไหวอีกหลายคนทำผิดพลาดอย่างน่าอายจากการยอมรับการโฆษณานี้ในปี 1950 จนยอมเสียสละและพลีชีพในการต่อต้านการปฎิวัติระบอบสตาลิน
ความไม่พอใจทางสังคมกับการเปลี่ยนความคิดในช่วงแรกเกิดขึ้นในปี 1956 โดยมีการพัฒนาเป็นการเคลื่อนไหวปฎิวัติอย่างเต็มสูบหลังจากที่ระบอบนี้เริ่มเสื่อมถอยลงแล้ว
การปฎิวัติสังคมนิยมประชาธิปไตย
วันที่ 23 ตุลาคม ปี 1956 มีการชุมนุมครั้งใหญ่ในบูดาเปสต์ โดยมีหน่วยกองกำลังพิเศษได้ระดมยิงใส่มวลชน ผลที่ออกมาทำให้รัฐบาลเข้าสู่จุดตกต่ำ ทำให้ Imre Nagy รีเทิรน์เข้ามา ระบบสองพรรคก็เริ่มเป็นที่รับรู้กันและกองกำลังโซเวียตถูกรื้อถอนออกไป กล่องดวงใจที่สำคัญก็มาจากอำนาจของเหล่าชนชั้นกรรมมาชีพ มีการผลักดันให้แรงงานเข้าสู่สภา แต่จะเป็นการโฟกัสไปในเรื่องของเสรีภาพทางการเมือง ความเป็นพหุนิยม เสรีภาพในการแสดงออกและการร่างรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐใหม่
ประเทศฮังการีปี 1956 : การปฎิวัติสังคมนิยม
พวกเรามักจะลืมเลือนเหตุการณ์สำคัญต่างๆในอดีตเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของมวลมหาประชาชน งานเขียนที่สำคัญทางการเมืองแสดงให้เห็นว่า ในปี 1945 ประเทศในแถบยุโรปตะวันออกได้ถูกรัสเซียยึดครองแล้วค่อยๆทำการถอนรากถอนโคนระบบและทำการควบคุมประชาชนภายใต้ความหวาดกลัว แต่ดูเหมือนเกือบทุกๆคนสามารถที่จะอธิบายได้ถึงความเจ็บปวดจากการกระทำของฝ่ายอนุรักษ์นิยมหรือระบอบกษัตริย์ในยุค 1945 ซึ่งไม่ได้รับเพียงแค่ “เสรีภาพ” เท่านั้น แต่ยังเป็น “การปฎิวัติ” อีกด้วย ระบบใหม่เริ่มต้นจากความเป็นพหุนิยมกับประชาธิปไตย พบว่าในประเทศฮังการีมีอาสาสมัครหลายหมื่นคนที่รอดชีวิตในกองทัพแดงในปี 1919 และผู้เข้าร่วมการปฎิวัติในปี 1919 กับสภาก็มีหลายหมื่นคน รวมไปถึงสมาชิกสหภาพแรงงานหลายหมื่นคนก็ได้มีการเรียนรู้จากแนวคิดมาร์กซิสต์จากสังคมประชาธิปไตยด้วยเช่นกัน
สิ่งที่เกิดขึ้นในเวลาปัจจุบันนี้ก็คือ ความจริงแล้วพรรคคอมมิวนิสต์ที่ผิดกฎหมายมีสมาชิกเพียงไม่กี่ร้อยคนเท่านั้น จึงมีข้อสงสัยเล็กน้อยเมื่อคุณพบว่า ความเป็นสมาชิกนำไปสู่การจำคุกสถานหนัก โดยมีผู้นำพรรค 2 คนที่ติดคุกเป็นเวลา 16 ปี แต่สภาพแวดล้อมแนวคิดคอมมิวนิสต์กับการปลดแอกของฝ่ายซ้ายโดยฝ่ายสังคมประชาธิปไตยกับกลุ่มสหภาพแรงงานอย่างเช่นแรงงานเหล็กกับช่างเรียงพิมพ์ที่มาจากแรงงานขาดทักษะตลอดจนถึงศิลปินแถวหน้าก็มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มใหญ่ แต่ละกลุ่มมีสมาชิกที่มาจากภาคเกษตรกรรมกว่า 1 ล้านที่ระดมแนวคิดการปฎิรูปที่ดิน กลุ่มผู้ที่ลงคะแนนเสียงล้วนแล้วไม่ได้มีแนวคิดต่อต้านคอมมิวนิสต์แต่อย่างใด
แต่อย่างไรก็ตามในปี 1945 ก็มีสัญญาณที่แสดงให้เห็นว่าชนชั้นนำเก่ากับชนชั้นนำทางการเมืองเริ่มมาถึงจุดสิ้นสุดแล้ว เป็นจุดสิ้นสุดของการถือครองที่ดินโดยชนชั้นสูงที่สร้างความมั่งคั่งอย่างมหาศาลและล้วนแล้วเป็นเหล่าบรรดากลุ่มศักดินาเหล่าคาทอลิกที่มีการแต่งตั้งตามขนบธรรมเนียมประเพณีและมีการถือครองที่ดินขนาดใหญ่ไพศาลจากกลุ่มเจ้าหน้าที่หัวโบราณกับกลุ่มเหล่าข้าราชการชนชั้นสูง และยังเป็นจุดสิ้นสุดของกลุ่มเหล่าตำรวจทหารที่ชอบข่มขู่คุกคามคนชนบทโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือผิดมนุษย์ธรรมและเป็นจุดสิ้นสุดของการใช้กฎหมายการเหยียดเชื้อชาติจนถึงชาติพันธุ์กับการแบ่งแยกทางเพศ
การปกครองแบบคอมมิวนิสต์ได้เริ่มต้นจากสภาสูงสุดของโซเวียต (ไม่ได้พูดถึงกรณีอดีตนักโทษสงครามหลายคนที่ถูกควบคุมตัวจากฝ่ายบอลเชวิคในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซียในปี 1918-20) โดยมีการควบคุมพรรคการเมืองและอำนาจทางการทหารของโซเวียต แต่จะเห็นได้ว่าแรงงานทั้งจากฝ่ายสังคมนิยมกับคอมมิวนิสต์และภาคเกษตรกรรมต้องการที่จะให้มีรูปแบบการปกครองด้วยสังคมนิยม โดยผู้คนส่วนหนึ่งก็ยังคิดว่าระบอบประชาธิปไตยยังไม่มีความน่าเชื่อถือมากพอ พวกเขาต้องการรูปแบบคอมมูน (ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อของ Kommün) สังคมนิยมโดยรวมจะมุ่งเน้นในเรื่องของการผลิต ความเสมอภาคของผู้บริโภค ให้เรียนฟรี สามารถทำแท้งและทำการหย่าร้างได้ ทั้งฝ่ายกองทัพกับตำรวจและระบบสภาทำงานร่วมกันในแต่ละพื้นที่ พวกเราคงรู้ดีกับสิ่งที่สตาลินได้ทำทั้งหมดนี้ ผู้คนส่วนใหญ่ล้วนต่อสู้ด้วยแนวคิดฝ่ายซ้ายและผู้คนก็มีแนวโน้มที่จะลืมเลือนสังคมประชาธิปไตยในช่วงปี 1940 ที่ฝ่ายซ้ายพรรคคอมมิวนิสต์ได้บริหารประเทศ นี่จึงเป็นเหตุผลที่ทำไมผู้คนจึงถูกกดขี่ข่มเหงอย่างไร้ความปรานี
อย่างไรก็ตามในปี 1950 ฝ่ายต่อต้านระบบศักดินากับฝ่ายต่อต้านเทวาธิปไตก็ได้ปรับมาตรการและจัดสรรปันส่วนสิทธิพิเศษให้กับชนชั้นกรรมมาชีพเสียใหม่เพื่อรับมือกับฝ่ายทรราช รัฐตำรวจ การเซ็นเซอร์ นโยบายปรับทัศนคติอย่างแข็งกร้าว ความคลั่งไคล้และความยากจน ซึ่งก็เป็นเรื่องดีแต่จะเห็นได้ชัดว่า สังคมยังมีอคติกับชนชั้นล่างอยู่มาก เช่นกันการปฎิวัติวัฒนธรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้เรียนฟรี การซื้อหนังสือในราคาถูก สร้างอุตสาหกรรมสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีรูปแบบที่ทันสมัย โดยประหยัดต้นทุน ตลอดจนถึงเข้าถึงโรงละครฟรี คอนเสิร์ตฟรีและได้รับตั๋วดูหนังฟรี เข้าพิพิธภัณฑ์ฟรี สร้างโรงเรียนอนุบาล สร้างที่พักอาศัยเพื่อสังคม รวมไปถึงการแก้ปัญหาความขาดแคลนทั้งเรื่องอาหารกับปัจจัยสี่ ซึ่งจะเห็นได้ว่าจากรูปภาพทั้งคนผิวขาวและดำที่ดูแล้วอนาถามาก รวมไปถึงปรับปรุงอุตสาหกรรมและสภาพแวดล้อมทั้งหมด เป็นที่ชัดเจนว่าการทำงานด้วยแรงงานอยู่จุดบนสูงของสังคมและเป็นการสร้างมูลค่าในช่วงแรกของประวัติศาสตร์โลก (ยังไม่มีแนวคิดเรื่องจิตวิญญาณจากฝั่งวัดวาอารามหรือเลือดสีน้ำเงินจากฝ่ายกษัตริย์ รวมไปถึงฟากฝ่ายคณาธิปไตยกับชนชั้นสูงหรือชนชั้นกลางบน)
แนวคิดต่างๆในส่วนของสังคมนิยมกับการปฎิบัติไม่ได้ตอบโจทย์เบื้องต้นให้กับคนทั้งหมดที่ต้องการปลดแอกจากระบอบการปกครองของสตาลินหลังจากที่จอมเผด็จการผู้นี้เสียชีวิตลงในปี 1953 โดยสรุปแล้วเกี่ยวกับการปฎิรูปนั้น ก็เป็นหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี Imre Nagy (เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องคอมมิวนิสต์ที่กลับมาในปี 1945 จากการถูกเนรเทศในกรุงมอสโคว์) โดยเขามีเป้าหมายในการรื้อฟื้นหรือก่อร่างสร้าง “สังคมนิยมแท้” ประกอบไปด้วยการสะสมเสบียงอาหาร มีเครื่องทำความร้อน มีร้านค้าต่างๆ ไม่ทำงานหนักเกินไปและไม่มีแพะติดคุก และโดยเฉพาะการยุติการโฆษณาชวนเชื่อหลอกลวงทั้งหลายที่สร้างความกลัวให้กับแรงงาน โดยจะมุ่งเน้นสร้างความเชื่อมั่นเป็นองค์ประกอบสำคัญ
ในช่วงศตวรรษที่ 20 ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปี 1956 สภาพรรคคอมมิวนิสต์ของโซเวียตนั้น ทางด้านนิกิต้า ครุสชอฟก็ได้กล่าวถึงเรื่องราวการก่ออาชาญากรรมของสตาลินผ่านไปยังสมาชิกพรรคหลายล้านคนและเผยแพร่ข่าวนี้ไปทั่วสารทิศไปยังทาง BBC ฮังการี The Voice Of America กับ Radio Free Europe กับสถานีวิทยุกระจายเสียงภาษาฮังการี หลังจากนั้นผู้นำระบอบสตาลิน Mátyás Rákosi ก็ได้ทำการลาออกและให้นักปฎิรูป Imre Nagy ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (เขาถูกไล่ในปี 1955) เหตุการณ์ที่สำคัญก็คือ มีการกอบกู้และทำการพิธีฝังศพทางศาสนาใหม่ของ László Rajk ซึ่งเป็นอดีตเลขาธิการคณะกรรมการระดับชาติ โดย Rajk ได้ถูกกล่าวหาจนถูกตัดสินประหารชีวิตในปี 1949 เขาได้ถูกทำพิธีฝังศพใหม่ในวันที่ 6 ตุลาคม ปี 1956 อย่างสมเกียรติ์ โดยมีผู้คนหลายพันคนเข้าร่วมงานครั้งนี้ วันที่ 6 ตุลาคม ก็เป็นวันสำคัญในประเทศฮังการี โดยนายทหารระดับสูงของฮังการี 13 คนที่เป็นกบฏได้ถูกประหารชีวิตโดยฝ่ายต่อต้านการปฎิวัติในวันเดียวกันในปี 1849 (และจะต้องเข้าใจด้วยว่า Count Batthyány ซึ่งเป็นหนึ่งในนายกรัฐมนตรีในการปฎิวัติปี 1848 ก็ถูกยิงเป้าใน Pest ด้วยเช่นกัน)
ในส่วนนี้จะมีเรื่องของการรื้อฟื้นความเชื่อมั่น การวินิจฉัยถึงความเป็นสังคมนิยมแท้พร้อมกับความยุติธรรม มีการรื้อถอนระบอบสตาลินและทำพิธีกรรมการฟังศพให้กับ Rajk ใหม่ด้วยสโลแกนที่ว่า “Never Again” เพื่อให้เป็นไปตามอุดมการณ์การปฎิวัติฮังการีในปี 1956
ปฎิวัติจิตสำนึกที่แย่
เป็นอีกครั้งที่พวกเราจะต้องจำเอาไว้ว่า ฝ่ายกบฏต่อต้านระบอบสตาลินได้ก่อกำเนิดและเริ่มปฎิบัติการในปี 1945 โดยมุ่งเน้นในเรื่องของความเท่าเทียมกันทางสังคมในการโค่นล้มรูปแบบการปกครองกิ่งศักดินาและมุ่งเน้นให้ชนชั้นแรงงานเข้ามามีบทบาททางการเมืองสูงสุด สังคมนิยมจะต้องมุ่งเน้นการผลิต กรรมสิทธิ์ทุกอย่างจะเป็นของรัฐไม่ว่าจะเป็นธนาคาร การบริการขนส่งมวลชน การเคหะ การจัดสรรปันส่วนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน บริหารจัดการกับแรงงานในรัฐวิสาหกิจ สร้างระบบพรรคการเมืองเพื่อต่อต้านลัทธิฟาสซิสม์ สร้างศัตรูให้เป็นมิตรในประเทศแถบยุโรปตะวันออก ทำการต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ใช้นโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศ ให้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออก ผู้หญิงทุกคนจะต้องได้รับค่าแรงอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการเรียนฟรีและฝึกอบรมให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีและอื่นๆ สิ่งต่างๆเหล่านี้ถูกปฎิเสธโดยพรรคการเมืองพรรคเดียวของระบอบสตาลินและการรื้อฟื้นประเด็นต่างๆเหล่านี้ก็เริ่มหดหายไปทุกที
ในกลุ่มต่างๆไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสหภาพแรงงาน สมาคมนักศึกษาและกลุ่มปัญญาชนได้ทำการโต้เถียงและพูดคุยในประเด็นเกี่ยวกับจุดสิ้นสุดระบอบการปกครองแบบเผด็จการ สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ หลายเดือนที่ผ่านมามีการสำนึกผิดและมีการตำหนิตัวเองจากฝ่ายปัญญาชนคอมมิวนิสต์ที่ทำเป็นมองไม่เห็นถึงความเลวทรามต่ำช้า ไม่ยอมทำการวิพากษ์วิจารณ์ คลั่งไคล้และดูเหมือนจะศรัทธาต่อระบอบสตาลินและพวกเขายังมีการสมคบคิดในการตอบโต้ผู้คนอย่างโหดร้ายป่าเถื่อนในระบอบสตาลินที่จะสถาปนารัฐทุนนิยม สโลแกน “Never Again!” ในช่วง 6 ตุลาคมเป็นการเตรียมรับมือสถานการณ์พิเศษในการทดสอบจิตสำนึกในการปฎิวัติครั้งใหม่ ยกระดับแรงจูงใจในการปฎิวัติเพื่อเสรีภาพครั้งใหม่ ในช่วงปี 1945 กับ 1956 นั้น มีนักกวีชื่อดังหลายคนก็ได้เขียนบทกลอน ทั้งคำสารภาพและเขียนหนังสือที่ยังมีให้เห็นจนถึงทุกวันนี้ สร้างแรงกระเพื่อมในการวาดมโนคติทางสังคม สิ่งนี้ทำให้เกิดการวิจารณ์ความคิดตัวเองของกลุ่มปัญญาชนคอมมิวนิสต์ที่ได้ช่วยยืดเวลาให้กับกลุ่มผู้นำพรรคและผู้บริสุทธิ์ที่เป็นฝ่ายซ้ายก็ได้รับอิสระจากคุกจองจำจากระบอบสตาลินที่แสดงให้เห็นว่า เสรีภาพได้รับการปลดปล่อยแล้ว ซึ่งพวกเขาไม่ได้คิดแก้แค้นแต่ขอเพียงแค่ความยุติธรรมเท่านั้น
ความเป็นผู้นำพรรคเริ่มมีความไม่แน่นอนจากการถูกให้เข้าร่วมเคลื่อนไหวหรือให้มีการระงับการใช้ความรุนแรง แนวคิดต่างๆทั้งหมดเกี่ยวกับการปฎิวัติสังคมนิยมได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง จึงมีการรวมกันกันโต้เถียงในประเด็นต่างๆในการรำลึกเหตุการณ์ในอดีตในกรุงปารีสที่มีกลุ่มนักเคลื่อนไหว Nuit Debout ออกโรง แต่โดยรวมแล้วก็มีการให้คำมั่นสัญญาว่าจะรื้อฟื้นระบบสังคมนิยมใหม่ จึงเป็นที่แน่ชัดแล้วว่า ไม่มีใครอยากที่จะได้ฟังคนที่สนับสนุนแนวทางทุนนิยมหรือรื้อฟื้นแนวคิดปฎิกิริยา ผู้คนส่วนใหญ่ไม่อยากฟังเรื่องพวกนี้ สิ่งที่น่าสนใจก็คือปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศโปแลนด์ ยังมีสิ่งที่น่าสนใจในการทดลองการบริหารจัดการแรงงานในยูโกสลาเวียและกลุ่มประเทศโลกที่สามที่มีแนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย
แต่คนส่วนใหญ่ทุกๆคนนี้ก็มีแนวโน้มที่จะลุกฮือขึ้นสู้ รื้อถอนระบอบสตาลิน ให้โอกาสกลุ่ม Nomenklatura ในการสู้รบและเลิกคิดที่จะหวาดกลัวกับต่างชาติ ต่อมาก็ให้แนวคิดที่ชื่อ “ชาตินิยม” โดยมีผู้สังเกตการณ์ภายนอกก็ไม่ได้ให้ความสำคัญมากไปกว่าความเท่าเทียมกันระหว่างชาติสังคมนิยม แน่นอนหมายความว่าพวกเขาไม่ยอมรับกับการที่รัสเซียเข้ามาแทรกแซง พูดง่ายๆก็คือมุ่งเน้นสร้างนโยบายความร่วมมือระหว่างประเทศ แต่ประเด็นที่สำคัญก็คือ มีความไม่ไว้วางใจกันระหว่างเจ้าหน้าที่ที่มีความต้องการดำเนินการให้เป็นด้วยความจริงใจ ซื่อตรงและมีความรับผิดชอบต่อการปฎิวัติด้วยความบริสุทธิ์
หนุ่มสาวที่เป็นนักสังคมนิยมก็ยอมที่จะให้อภัยกับคนที่โดนจูงจมูกจากการโฆษณาชวนเชื่อระบอบสตาลิน และจริงๆแล้วมีทั้งปัญญาชนกับนักเคลื่อนไหวอีกหลายคนทำผิดพลาดอย่างน่าอายจากการยอมรับการโฆษณานี้ในปี 1950 จนยอมเสียสละและพลีชีพในการต่อต้านการปฎิวัติระบอบสตาลิน
ความไม่พอใจทางสังคมกับการเปลี่ยนความคิดในช่วงแรกเกิดขึ้นในปี 1956 โดยมีการพัฒนาเป็นการเคลื่อนไหวปฎิวัติอย่างเต็มสูบหลังจากที่ระบอบนี้เริ่มเสื่อมถอยลงแล้ว
การปฎิวัติสังคมนิยมประชาธิปไตย
วันที่ 23 ตุลาคม ปี 1956 มีการชุมนุมครั้งใหญ่ในบูดาเปสต์ โดยมีหน่วยกองกำลังพิเศษได้ระดมยิงใส่มวลชน ผลที่ออกมาทำให้รัฐบาลเข้าสู่จุดตกต่ำ ทำให้ Imre Nagy รีเทิรน์เข้ามา ระบบสองพรรคก็เริ่มเป็นที่รับรู้กันและกองกำลังโซเวียตถูกรื้อถอนออกไป กล่องดวงใจที่สำคัญก็มาจากอำนาจของเหล่าชนชั้นกรรมมาชีพ มีการผลักดันให้แรงงานเข้าสู่สภา แต่จะเป็นการโฟกัสไปในเรื่องของเสรีภาพทางการเมือง ความเป็นพหุนิยม เสรีภาพในการแสดงออกและการร่างรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐใหม่