❀

❀
ที่มา Hayes, Shoocongdej et al / Antiquity
❀
ผู้หญิงรายนี้คาดว่าคือ
บรรพบุรุษของประชากรใน
อุษาคเนย์ (อินโดจีน)
ที่มีเชื้อสาย Australo-Melanesian
ที่มาจากกลุ่มชนดั้งเดิม
Australoid
สันนิษฐานว่ากลุ่มชน Australoid
มีการผสมผสานกับกลุ่มชนอื่น เช่น
Caucasoid และ Mongoloid
แล้วอพยพย้ายถิ่นฐานในเขตอุษาคเนย์
มีการประมาณการใบหน้าของเธอ
ด้วยการสร้างใบหน้าสตรี
ถ้ำลอด (ในไทย)
ตำบลถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาคเหนือของประเทศไทย
ในอดีตเธอมาอยู่อาศัยอยู่
ในบริเวณนี้ช่วง 13,600 ปีที่แล้วมา
ซึ่งอยู่ในยุคไพลสโตซีน
Pleistocene
ผู้หญิงรายนี้คาดว่ามีอายุระหว่าง 25-35 ปี
และสูงระหว่าง 1.48 ถึง 1.56 เมตร
ในยุคนั้น แผ่นดินในหลายประเทศในทุกวันนี้
ยังติดต่อกัน เดินไปมาหาสู่กันได้
ก่อนที่ทะเล แผ่นดินไหว รอยเลื่อนโลก
ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างกันขาดหายไป
คนปกติจะเดินได้วันละ 10-20 กิโลเมตร
เร่ร่อนหาอาหารไปเรื่อย ๆ ตามเส้นทาง
ถ้าไม่หลงทางใช้เวลา 100 วัน
ก็จะได้ระยะทางไม่น้อยกว่า 500 กิโลเมตร
ถ้าวิ่งแบบตูนบอดี้สแลมป์ ม้วนเดียวจบ
จะได้ระยะทางมากกว่า 1,000 กิโลเมตร
อายุของโครงกระดูกและสถานที่ค้นพบ
ในหลุมขุดค้นทางโบราณคดี
ได้รับการนำเสนอ/สรุปในงานวิจัยว่า
เธอน่าจะสืบเชื้อสายมาจากมนุษย์กลุ่มแรก
ที่มาตั้งที่ทำมาหากินใน
อุษาคเนย์
ผลการวิจัยได้มีการตีพิมพ์ในวารสาร
Antiquity
การประมาณใบหน้าสตรีรายนี้
นับว่าเป็นครั้งแรกในแวดวงวิชาการ
สร้างขึ้นด้วยการใช้ชุด/ฐานข้อมูลทั่วโลก
ด้วยการวัดกะโหลกศีรษะ กล้ามเนื้อ ผิวหนัง
และเนื้อเยื่ออ่อนภายในประกอบกัน
จากกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ทั่วโลก
แล้วใช้ค่าเฉลี่ยตามหลักวิชาสัณฐานวิทยา
ประกอบกับหลักวิชาสถิติ
ที่หาได้จากหลักวิชาการ
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
คือการวัดค่ากลางของข้อมูลแต่ละชุด มี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithemic Mean)
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean)
ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิก (Harmonic Mean)
ค่ากึ่งกลางพิสัย (Md-range)
มัธยฐาน (Median) และ ฐานนิยม (Mode)
ค่ากลางแต่ละชนิดต่างก็มี ข้อดี ข้อเสีย
มีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน
ขึ้นอยู่กับลักษณะการแจกแจงของข้อมูล
และวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้น ๆ
แต่ค่ากลางข้อมูลที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ชนิด คือ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)
มัธยฐาน (Median)และ ฐานนิยม (Mode)
https://goo.gl/ekSnXw (ไทย)
ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติ 95%
ยอมรับค่าคลาดเคลื่อน +/- 5%
สินค้าเกษตรที่ส่งออกก็ยอมรับได้ระดับนี้
แต่เคมีภัณฑ์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
จะตัองต่ำมาก ๆ บางอย่าง +/- 0.1-0.5%
ราคาจึงต้องแพงหายห่วงไปเลย
Dr.Susan Hayes จาก University of Wollongong ออสเตรเลีย
ให้สัมภาษณ์กับ IBTimes UK ว่า
" การประมาณการใบหน้า
ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์
แต่เดิมอาจจะมีมากมายหลายแบบมาก
แต่การสร้างใบหน้าสตรีครั้งนี้
ได้มาจากข้อมูลหลากหลายชาติพันธุ์
ในประเทศต่าง ๆ และทวีปต่าง ๆ
ช่วยให้แน่ใจว่าการแสดงผลของใบหน้า
จะไม่ลำเอียงว่าเป็นประชากรชาติใดชาติหนึ่ง "
Dr.Susan Hayes ได้ใช้วิธีการที่เรียกว่า
การประมาณการใบหน้า
จากผลการการวิเคราะห์
ที่ขึ้นอยู่กับชั้นเนื้อเยื่ออ่อน
และการวัดกะโหลกศีรษะจากประชากรตัวอย่าง
ประมวลผลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
ตามหลักวิชาการ สัณฐานวิทยา/สถิติ
แทนที่วิธีการที่ได้รับความนิยมแต่ดั้งเดิมคือ
การบูรณะใบหน้าทางนิติเวช
" การฟื้นฟูใบหน้า(จากกะโหลกศีรษะ)
ทำให้ผู้คนต่างหลงใหล/ดึงดูดความสนใจจาก
ศิลปินและนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากมาย
แต่น่าเสียดายที่บางคนก็เป็นนักวิทยาศาสตร์
ที่ไม่มีความเข้าใจในด้านเทคนิค
ของการวาดภาพศิลปะ/หน้าคน
และศิลปินบางคนก็ไม่มีความเข้าใจ
ในด้านเทคนิคของวิทยาศาสตร์
โฉมหน้าของเธอ น่าจะดูดีกว่านี้สักเล็กน้อย "
❀

❀
ที่มา Hayes, Shoocongdej et al / Antiquity
❀
ภาพใบหน้าที่ได้คือ โฉมหน้าสตรีที่ดูดี
แต่อาจจะไม่เหมือนภาพใบหน้าจริงก็ได้
เพราะใช้ฐานข้อมูลในการทำการเปรียบเทียบ
จากค่าแนวโน้มเข้าส่วนกลางตามหลักวิชาการ
ของกลุ่มประชากรตัวอย่างกลุ่มใหญ่
ดังนั้น สตรีถ้ำลอดในสมัยโบราณ
ที่ขุดค้นพบในถ้ำลอด ตำบลถ้ำลอด
อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่เธอเคยอาศัยอยู่ในประเทศไทยยุคปรัตยุตบัน
ก็จะมีหน้าตาเหมือนกับชาวบ้านทั่วไปโดยเฉลี่ย
ที่มาจากการเปรียบเทียบ/ประมวลผล
จากฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาหาค่าเฉลี่ย
ตามหลักการหาแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ตามหลักวิชาสัณฐานวิทยา/สถิติ
ภาพใบหน้าของเธอค่อนข้างดูดี
และไม่มีใครเป็นต้นแบบใบหน้านี้ นอกจากค่าเฉลี่ย
ตามบันทึก/ข้อสังเกตของ Dr.Susan Hayes
" แต่ค่าเฉลี่ย [ภาพใบหน้า] จะดูดีกว่า
เพราะฉันคิดว่า ดีกว่าการใช้สัญชาตญาณ
แรงบันดาลใจ ศิลปะการวาดภาพหน้าคน
หรือการยึดติดกับวิธีการที่เรียบง่าย
ที่จะผิดพลาดได้อย่างง่าย ๆ เช่นกัน "
Dr.Susan Hayes กล่าวสรุป
หมายเหตุ
AI ปัญญาประดิษฐ์ทุกวันนี้เก่งมาก
คำนวณได้เร็วมาก เล่นหมากรุกชนะแชมป์โลก
ตรวจสอบวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ได้
(ถ้ามีข้อมูลมากในระดับที่สร้างแบบจำลอง)
จีน ใช้พิจารณาคดีที่ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
จับคู่ DNA จากประชากรหลายล้านคนในจีน
มีการใข้ Application ทำงานร่วมกับ AI
สร้างภาพสีธรรมชาติจากภาพขาวดำ(ต้นฉบับ)
หรือสร้างภาพขึ้นมาใหม่จากศิลปินช่างภาพ
ที่โด่งดังและมีภาพวาดจำนวนมากขึ้นมาใหม่
โดยแนวทางภาพวาดใกล้เคียงกับศิลปิน
ด้วยการ Print สีออกมา ยังไม่ถึงขั้นลงแปรงสี
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/xszPbG
https://goo.gl/QT8zTU
โฉมหน้าสตรีถ้ำลอดในไทยเมื่อ 13,600 ปีก่อน
ที่มา Hayes, Shoocongdej et al / Antiquity
❀
ผู้หญิงรายนี้คาดว่าคือ
บรรพบุรุษของประชากรใน อุษาคเนย์ (อินโดจีน)
ที่มีเชื้อสาย Australo-Melanesian
ที่มาจากกลุ่มชนดั้งเดิม Australoid
สันนิษฐานว่ากลุ่มชน Australoid
มีการผสมผสานกับกลุ่มชนอื่น เช่น
Caucasoid และ Mongoloid
แล้วอพยพย้ายถิ่นฐานในเขตอุษาคเนย์
มีการประมาณการใบหน้าของเธอ
ด้วยการสร้างใบหน้าสตรี ถ้ำลอด (ในไทย)
ตำบลถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาคเหนือของประเทศไทย
ในอดีตเธอมาอยู่อาศัยอยู่
ในบริเวณนี้ช่วง 13,600 ปีที่แล้วมา
ซึ่งอยู่ในยุคไพลสโตซีน Pleistocene
ผู้หญิงรายนี้คาดว่ามีอายุระหว่าง 25-35 ปี
และสูงระหว่าง 1.48 ถึง 1.56 เมตร
ในยุคนั้น แผ่นดินในหลายประเทศในทุกวันนี้
ยังติดต่อกัน เดินไปมาหาสู่กันได้
ก่อนที่ทะเล แผ่นดินไหว รอยเลื่อนโลก
ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างกันขาดหายไป
คนปกติจะเดินได้วันละ 10-20 กิโลเมตร
เร่ร่อนหาอาหารไปเรื่อย ๆ ตามเส้นทาง
ถ้าไม่หลงทางใช้เวลา 100 วัน
ก็จะได้ระยะทางไม่น้อยกว่า 500 กิโลเมตร
ถ้าวิ่งแบบตูนบอดี้สแลมป์ ม้วนเดียวจบ
จะได้ระยะทางมากกว่า 1,000 กิโลเมตร
อายุของโครงกระดูกและสถานที่ค้นพบ
ในหลุมขุดค้นทางโบราณคดี
ได้รับการนำเสนอ/สรุปในงานวิจัยว่า
เธอน่าจะสืบเชื้อสายมาจากมนุษย์กลุ่มแรก
ที่มาตั้งที่ทำมาหากินใน อุษาคเนย์
ผลการวิจัยได้มีการตีพิมพ์ในวารสาร Antiquity
การประมาณใบหน้าสตรีรายนี้
นับว่าเป็นครั้งแรกในแวดวงวิชาการ
สร้างขึ้นด้วยการใช้ชุด/ฐานข้อมูลทั่วโลก
ด้วยการวัดกะโหลกศีรษะ กล้ามเนื้อ ผิวหนัง
และเนื้อเยื่ออ่อนภายในประกอบกัน
จากกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ทั่วโลก
แล้วใช้ค่าเฉลี่ยตามหลักวิชาสัณฐานวิทยา
ประกอบกับหลักวิชาสถิติ
ที่หาได้จากหลักวิชาการ ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
คือการวัดค่ากลางของข้อมูลแต่ละชุด มี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithemic Mean)
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean)
ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิก (Harmonic Mean)
ค่ากึ่งกลางพิสัย (Md-range)
มัธยฐาน (Median) และ ฐานนิยม (Mode)
ค่ากลางแต่ละชนิดต่างก็มี ข้อดี ข้อเสีย
มีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน
ขึ้นอยู่กับลักษณะการแจกแจงของข้อมูล
และวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้น ๆ
แต่ค่ากลางข้อมูลที่นิยมใช้กันมีอยู่ 3 ชนิด คือ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)
มัธยฐาน (Median)และ ฐานนิยม (Mode)
https://goo.gl/ekSnXw (ไทย)
ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติ 95%
ยอมรับค่าคลาดเคลื่อน +/- 5%
สินค้าเกษตรที่ส่งออกก็ยอมรับได้ระดับนี้
แต่เคมีภัณฑ์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์
จะตัองต่ำมาก ๆ บางอย่าง +/- 0.1-0.5%
ราคาจึงต้องแพงหายห่วงไปเลย
Dr.Susan Hayes จาก University of Wollongong ออสเตรเลีย
ให้สัมภาษณ์กับ IBTimes UK ว่า
" การประมาณการใบหน้า
ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์
แต่เดิมอาจจะมีมากมายหลายแบบมาก
แต่การสร้างใบหน้าสตรีครั้งนี้
ได้มาจากข้อมูลหลากหลายชาติพันธุ์
ในประเทศต่าง ๆ และทวีปต่าง ๆ
ช่วยให้แน่ใจว่าการแสดงผลของใบหน้า
จะไม่ลำเอียงว่าเป็นประชากรชาติใดชาติหนึ่ง "
Dr.Susan Hayes ได้ใช้วิธีการที่เรียกว่า
การประมาณการใบหน้า
จากผลการการวิเคราะห์
ที่ขึ้นอยู่กับชั้นเนื้อเยื่ออ่อน
และการวัดกะโหลกศีรษะจากประชากรตัวอย่าง
ประมวลผลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
ตามหลักวิชาการ สัณฐานวิทยา/สถิติ
แทนที่วิธีการที่ได้รับความนิยมแต่ดั้งเดิมคือ
การบูรณะใบหน้าทางนิติเวช
" การฟื้นฟูใบหน้า(จากกะโหลกศีรษะ)
ทำให้ผู้คนต่างหลงใหล/ดึงดูดความสนใจจาก
ศิลปินและนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากมาย
แต่น่าเสียดายที่บางคนก็เป็นนักวิทยาศาสตร์
ที่ไม่มีความเข้าใจในด้านเทคนิค
ของการวาดภาพศิลปะ/หน้าคน
และศิลปินบางคนก็ไม่มีความเข้าใจ
ในด้านเทคนิคของวิทยาศาสตร์
โฉมหน้าของเธอ น่าจะดูดีกว่านี้สักเล็กน้อย "
ที่มา Hayes, Shoocongdej et al / Antiquity
❀
ภาพใบหน้าที่ได้คือ โฉมหน้าสตรีที่ดูดี
แต่อาจจะไม่เหมือนภาพใบหน้าจริงก็ได้
เพราะใช้ฐานข้อมูลในการทำการเปรียบเทียบ
จากค่าแนวโน้มเข้าส่วนกลางตามหลักวิชาการ
ของกลุ่มประชากรตัวอย่างกลุ่มใหญ่
ดังนั้น สตรีถ้ำลอดในสมัยโบราณ
ที่ขุดค้นพบในถ้ำลอด ตำบลถ้ำลอด
อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่เธอเคยอาศัยอยู่ในประเทศไทยยุคปรัตยุตบัน
ก็จะมีหน้าตาเหมือนกับชาวบ้านทั่วไปโดยเฉลี่ย
ที่มาจากการเปรียบเทียบ/ประมวลผล
จากฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาหาค่าเฉลี่ย
ตามหลักการหาแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ตามหลักวิชาสัณฐานวิทยา/สถิติ
ภาพใบหน้าของเธอค่อนข้างดูดี
และไม่มีใครเป็นต้นแบบใบหน้านี้ นอกจากค่าเฉลี่ย
ตามบันทึก/ข้อสังเกตของ Dr.Susan Hayes
" แต่ค่าเฉลี่ย [ภาพใบหน้า] จะดูดีกว่า
เพราะฉันคิดว่า ดีกว่าการใช้สัญชาตญาณ
แรงบันดาลใจ ศิลปะการวาดภาพหน้าคน
หรือการยึดติดกับวิธีการที่เรียบง่าย
ที่จะผิดพลาดได้อย่างง่าย ๆ เช่นกัน "
Dr.Susan Hayes กล่าวสรุป
หมายเหตุ
AI ปัญญาประดิษฐ์ทุกวันนี้เก่งมาก
คำนวณได้เร็วมาก เล่นหมากรุกชนะแชมป์โลก
ตรวจสอบวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ได้
(ถ้ามีข้อมูลมากในระดับที่สร้างแบบจำลอง)
จีน ใช้พิจารณาคดีที่ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
จับคู่ DNA จากประชากรหลายล้านคนในจีน
มีการใข้ Application ทำงานร่วมกับ AI
สร้างภาพสีธรรมชาติจากภาพขาวดำ(ต้นฉบับ)
หรือสร้างภาพขึ้นมาใหม่จากศิลปินช่างภาพ
ที่โด่งดังและมีภาพวาดจำนวนมากขึ้นมาใหม่
โดยแนวทางภาพวาดใกล้เคียงกับศิลปิน
ด้วยการ Print สีออกมา ยังไม่ถึงขั้นลงแปรงสี
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/xszPbG
https://goo.gl/QT8zTU
❀
❀
พื้นที่อุษาคเนย์ (ไทย)
❀
❀
สันนิษฐานว่ากลุ่มชน Australoid
มีการผสมผสานกับ กลุ่มชน Caucasoid
และ Mongoloid แล้วอพยพย้ายถิ่นฐาน
ไปตามประเทศต่าง ๆ ในเขตอุษาคเนย์
ที่มา Australoid
❀
❀
ข้อมูลเพิ่มเติม Dr.Susan Hayes
❀