พระสูตรฉบับ แปล อรรถกถา ฉบับแปล นำมาเป็น หลักฐานได้หรือ?

https://www.youtube.com/watch?v=gAfvcPJjziY

พระสูตฉบับแปล
อรรถกถาฉบับแปล
เหมือนคนเรียนจบปริญาตรี แล้ว ทำวิทยานิพนธ์
จ้างเขาทำบ้าง ลอกตำรากันบ้าง  
คนทำเป็นปุถุชน ไม่มีดวงตาเห็นธรรม
ไม่มีคุณวุฒิ  ไม่มีคุณสมบัติพอ
ฉนั้นการที่จะเอาพระสูต และอรรถกถามาอ้างอิง
ต้องนำฉบับ บาลีมาอ้างอิง จีงจะถูกต้อง
เหมือนกับผู้ นำอรรถกถา และพระสูต มาอ้างว่า
พระวินัยมีแค่150ข้อ ทำให้ ชาวพุทธ หลงงมงายไม่ เข้าใจว่าเป็นอย่างไร
ใครที่ถูก ใครที่อ้างผิด
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
วิชาแพทย์มีตำราเป็นภาษาลาติน ตั้งแต่สมัยโรมมีอำนาจ ต่อมามีคนนำภาษาลาตินมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยยังใช้คำลาตินบ้างอังกฤษบ้าง เขาก็ศึกษาพัฒนากันจนมีวิชาผ่าตัด รักษาโรคต่างๆ มากมายได้

พุทธศาสนา คือ ตำราแพทย์รักษาโรคทุกข์ เขาแปลจากบาลีมาเป็นไทย ให้คนไทยได้เข้าใจความหมายของคำ เพื่อให้คนที่ไม่รู้บาลี รักษาโรคทุกข์ของตนได้

การที่รู้บาลี อ่านบาลีได้ เป็นเรื่องดีครับ แต่จะบอกว่า หมอที่เรียนด้วยภาษาอังกฤษ สู้หมอที่เรียนด้วยภาษาลาตินไม่ได้อย่างนั้นหรือ ???  เป็นความเห็นที่ติดยึดในตัวภาษามากเลยครับ เราเรียนพุทธศาสตร์ ไม่ได้เรียนภาษาศาสตร์
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่