ภิกษุ ท. ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ ทำให้บริบูรณ์ในศีล ทำพอ ประมาณ
ในสมาธิ ทำพอประมาณในปัญญา. เธอยังล่วงสิกขาบทเล็กน้อยบ้าง
และต้องออกจากอาบัติเล็กน้อยเหล่านั้นบ้าง. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้น
๑. บาลี พระพุทธภาษิต ติก. อํ. ๒๐/๒๙๗, ๓๐๐/๕๒๖, ๕๒๗, ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย.
เพราะเหตุว่า ไม่มีผู้รู้ใด ๆ กล่าวความอาภัพ ต่อการบรรลุโลกุตตรธรรม
จักเกิดขึ้นเพราะเหตุสักว่า การล่วงสิกขาบทเล็กน้อย
และการต้องออกจากอาบัติเล็กน้อยเหล่านี้. อนึ่ง สิกขาบทเหล่าใด
ที่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ที่เหมาะสมแก่พรหมจรรย์,
เธอเป็นผู้มีศีลยั่งยืน มีศีลมั่นคงในสิกขาบทเหล่านั้น
สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓๑ เป็นโสดาบัน
(ผู้ถึงกระแสแห่งนิพพาน) เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
ผู้เที่ยงแท้ต่อการตรัสรู้ข้างหน้า.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓
เป็นผู้ยังต้องท่องเที่ยวไปในภพแห่งเทวดาแลมนุษย์อีก ๗ ครั้ง
เป็นอย่าง มาก แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓
จักต้องท่องเที่ยวไปสู่สกุล๒ ๒ หรือ ๓ ครั้ง แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓ เป็นผู้มีพืช
หนเดียว คือจักเกิดในภพแห่งมนุษย์หนเดียวเท่านั้น แล้วย่อมกระทำที่สุด แห่งทุกข์ได้.
๑. สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ การเข้าใจผิดในนามรูปจากที่เป็นจริง ๑,
วิจิกิจฉา การลังเล ต่อการพ้นทุกข์ตามแบบของพระพุทธเจ้า ๑,
สีลัพพัตตปรามาส การถือศีลและวัตรที่ถูกลูบคลำด้วยตัณหาและ ทิฏฐิ
คือความปรารถนาผิดทาง โง่เขลา เบาปัญญาและถือรั้น ๑.
๒. คำว่า “สกุล” ในที่นี้ ในบาลีว่า “กุลานิ”,
โดยใจความ หมายถึงการมาเกิดในสกุลอย่าง มนุษย์ คือในบ้านเรือนแห่งมนุษย์.
ว่าด้วยผู้ถึงกระแสแห่งนิพพาน
ในสมาธิ ทำพอประมาณในปัญญา. เธอยังล่วงสิกขาบทเล็กน้อยบ้าง
และต้องออกจากอาบัติเล็กน้อยเหล่านั้นบ้าง. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้น
๑. บาลี พระพุทธภาษิต ติก. อํ. ๒๐/๒๙๗, ๓๐๐/๕๒๖, ๕๒๗, ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย.
เพราะเหตุว่า ไม่มีผู้รู้ใด ๆ กล่าวความอาภัพ ต่อการบรรลุโลกุตตรธรรม
จักเกิดขึ้นเพราะเหตุสักว่า การล่วงสิกขาบทเล็กน้อย
และการต้องออกจากอาบัติเล็กน้อยเหล่านี้. อนึ่ง สิกขาบทเหล่าใด
ที่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ที่เหมาะสมแก่พรหมจรรย์,
เธอเป็นผู้มีศีลยั่งยืน มีศีลมั่นคงในสิกขาบทเหล่านั้น
สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย.
ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓๑ เป็นโสดาบัน
(ผู้ถึงกระแสแห่งนิพพาน) เป็นผู้มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
ผู้เที่ยงแท้ต่อการตรัสรู้ข้างหน้า.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓
เป็นผู้ยังต้องท่องเที่ยวไปในภพแห่งเทวดาแลมนุษย์อีก ๗ ครั้ง
เป็นอย่าง มาก แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓
จักต้องท่องเที่ยวไปสู่สกุล๒ ๒ หรือ ๓ ครั้ง แล้วย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น, เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ ๓ เป็นผู้มีพืช
หนเดียว คือจักเกิดในภพแห่งมนุษย์หนเดียวเท่านั้น แล้วย่อมกระทำที่สุด แห่งทุกข์ได้.
๑. สัญโญชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ การเข้าใจผิดในนามรูปจากที่เป็นจริง ๑,
วิจิกิจฉา การลังเล ต่อการพ้นทุกข์ตามแบบของพระพุทธเจ้า ๑,
สีลัพพัตตปรามาส การถือศีลและวัตรที่ถูกลูบคลำด้วยตัณหาและ ทิฏฐิ
คือความปรารถนาผิดทาง โง่เขลา เบาปัญญาและถือรั้น ๑.
๒. คำว่า “สกุล” ในที่นี้ ในบาลีว่า “กุลานิ”,
โดยใจความ หมายถึงการมาเกิดในสกุลอย่าง มนุษย์ คือในบ้านเรือนแห่งมนุษย์.