นิโรธสมาบัติ การเข้านิโรธ คือ
ดับสัญญา ความจำได้หมายรู้ และเวทนา
การเสวยอารมณ์
เรียกเต็มว่า เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ,
พระอรหันต์และพระอนาคามีที่ได้สมาบัติ ๘ แล้ว จึงจะเข้านิโรธสมาบัติได้
(ข้อ ๙ ใน อนุปุพพวิหาร ๙)
สมาบัติ คือ ภาวะสงบประณีตซึ่งพึงเข้าถึง
https://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%B9%D4%E2%C3%B8%CA%C1%D2%BA%D1%B5%D4&detail=on
นิโรธกรรมหรือปริวาสกรรม หรือ
บุญเข้ากรรม
บุญเข้ากรรม หรือ บุญเดือนอ้าย[1] ตรงกับวันเพ็ญเดือนอ้ายหรือเดือนธันวาคม จัดทำโดยพระภิกษุ ผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส คือ อาบัติขนาดกลาง ต้องปฏิบัติวุฏฐานวิธี คือ ระเบียบเป็นเครื่องออกอาบัติ โดยให้พระสงฆ์เข้าไปอยู่ในเขตที่จำกัด ทรมานกายและชำระจิตใจให้บริสุทธิ ถือเป็นการแทนคุณมารดาที่ต้องอยู่กรรม (อยู่ไฟ) ด้วยการเข้ากรรมทำอยู่เก้าราตรี คือ สามราตรีแรกเรียกว่า อยู่บริวาส และหกราตรีต่อมาเรียกว่า อยู่มานัต เมื่อครบเก้าราตรีจึงอัพภาน คือ ออกจากกรรม โดยมีพระสงฆ์ 20 รูป เป็นผู้สวดอัพภาน
การสวดระงับอาบัติ ภิกษุที่ออกจากกรรมแล้ว ถือว่าเป็นผู้หมดมลทินบริสุทธิ์ผุดผ่อง ชาวบ้านที่ทำบุญถวายทานแด่พระสงฆ์ระหว่างเข้ากรรมถือได้ว่ากุศล[2]
การเข้ากรรม คือ การอยู่ปริวาสกรรมของภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส[4] เรียกว่า “เข้าปริวาสกรรม” โดยให้พระภิกษุผู้ต้องอาบัติ (กระทำผิด) ได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เพื่อเป็นการฝึกจิตสำนึกถึงความบกพร่องของตนเอง และมุ่งประพฤติตนให้ถูกต้อง ตามพระวินัย พิธีเข้าปริวาสกรรมจะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ โดยกำหนดไว้ 9 ราตรี พระภิกษุสงฆ์ที่ต้องการเข้าปริวาสกรรมต้องไปพักอยู่ในสถานที่สงบ ไม่มีผู้คนพลุกพล่าน[1]
สังฆาทิเสส มี 13 ข้อ ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสจะต้องเข้าปริวาสกรรม[5]
1. ปล่อยน้ำอสุจิด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน
2. เคล้าคลึง จับมือ จับช้องผม ลูบคลำ จับต้องอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ
3. พูดจาหยาบคาย เกาะแกะสตรีเพศ เกี้ยวพาราสี
4. การกล่าวถึงคุณในการบำเรอตนด้วยกาม หรือถอยคำพาดพิงเมถุน
5. ทำตัวเป็นสื่อรัก บอกความต้องการของอีกฝ่ายให้กับหญิงหรือชาย แม้สามีกับภรรยา หรือแม้แต่หญิงขายบริการ
6. สร้างกุฏิด้วยการขอ
7. สร้างวิหารใหญ่ โดยพระสงฆ์มิได้กำหนดที่ รุกรานคนอื่น
8. แกล้งใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
9. แกล้งสมมุติแล้วใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
10. ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน
11. เป็นพวกของผู้ที่ทำสงฆ์ให้แตกกัน
12. เป็นผู้ว่ายากสอนยาก และต้องโดนเตือนถึง 3 ครั้ง
13. ทำตัวเป็นเหมือนคนรับใช้ ประจบคฤหัสถ์[5]
การเข้าปริวาสกรรม เป็นการสำรวม กาย วาจา ใจ ไม่ให้กระทำผิดอีกต่อไป มีการนั่งสมาธิเดินจงกรม สวดมนต์ภาวนา ใช้เวลามากกว่าปกติ บางทีมีการอดข้าว อดน้ำถึง 2-3 วันก็มี หรือบางทีก็ถูกอาจารย์กรรมฝึกหนัก ทั้งนี้ก็เพื่อให้รู้และเข้าใจความยากลำบากของคำว่า กรรม หรืออยู่กรรม ที่แม่ได้อยู่ไฟหรือว่าอยู่กรรมนั้นมี ความยากลำบากเพียงไร เพราะฉะนั้น คนในสมัย
ก่อน ๆ จึงมีความตระหนักและเข้าใจในบุญคุณของพ่อแม่ ไม่มีข่าวปรากฏให้ได้ยินเห็นว่าลูกฆ่าพ่อ ตีแม่ ลูกอกตัญญ แต่กลับเทิดทูนพ่อแม่ในฐานะปูชนียบุคคลในระดับครอบครัวอย่างแท้จริง
ในกิจกรรมของพระในการนี้ พุทธศาสนิกชนผู้หวังบุญกุศลก็ร่วมกันดูแลอุปัฎฐาก รักษาพระเจ้าพระสงฆ์ที่เข้าอยู่กรรม บริจาคทาน รักษาศีล ฟังธรรม เกี่ยวกับการเข้าอยู่ปริวาสกรรมของพระภิกษุ เรียกว่า”บุญเข้ากรรม” ส่วนกำหนดการทำบุญดังกล่าวได้กำหนดเอาเดือนอ้าย จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “บุญเดือนอ้าย[6]”
ส่วนกิจของชาวพุทธศาสนิกชนในบุญเข้ากรรมนี้ คือการหาข้าวของเครื่องอุปโภคบริโภถวายพระ ซึ่งถือว่าจะได้บุญมากกว่าการทำบุญตักบาตรทั่วไป
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1#:~:text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%20%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3,%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3
สมาธิประหลาด5: นิโรธสมาบัติ vs นิโรธกรรมหรือปริวาสกรรม
ดับสัญญา ความจำได้หมายรู้ และเวทนา
การเสวยอารมณ์
เรียกเต็มว่า เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ,
พระอรหันต์และพระอนาคามีที่ได้สมาบัติ ๘ แล้ว จึงจะเข้านิโรธสมาบัติได้
(ข้อ ๙ ใน อนุปุพพวิหาร ๙)
สมาบัติ คือ ภาวะสงบประณีตซึ่งพึงเข้าถึง
https://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%B9%D4%E2%C3%B8%CA%C1%D2%BA%D1%B5%D4&detail=on
นิโรธกรรมหรือปริวาสกรรม หรือ
บุญเข้ากรรม
บุญเข้ากรรม หรือ บุญเดือนอ้าย[1] ตรงกับวันเพ็ญเดือนอ้ายหรือเดือนธันวาคม จัดทำโดยพระภิกษุ ผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส คือ อาบัติขนาดกลาง ต้องปฏิบัติวุฏฐานวิธี คือ ระเบียบเป็นเครื่องออกอาบัติ โดยให้พระสงฆ์เข้าไปอยู่ในเขตที่จำกัด ทรมานกายและชำระจิตใจให้บริสุทธิ ถือเป็นการแทนคุณมารดาที่ต้องอยู่กรรม (อยู่ไฟ) ด้วยการเข้ากรรมทำอยู่เก้าราตรี คือ สามราตรีแรกเรียกว่า อยู่บริวาส และหกราตรีต่อมาเรียกว่า อยู่มานัต เมื่อครบเก้าราตรีจึงอัพภาน คือ ออกจากกรรม โดยมีพระสงฆ์ 20 รูป เป็นผู้สวดอัพภาน
การสวดระงับอาบัติ ภิกษุที่ออกจากกรรมแล้ว ถือว่าเป็นผู้หมดมลทินบริสุทธิ์ผุดผ่อง ชาวบ้านที่ทำบุญถวายทานแด่พระสงฆ์ระหว่างเข้ากรรมถือได้ว่ากุศล[2]
การเข้ากรรม คือ การอยู่ปริวาสกรรมของภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส[4] เรียกว่า “เข้าปริวาสกรรม” โดยให้พระภิกษุผู้ต้องอาบัติ (กระทำผิด) ได้สารภาพต่อหน้าคณะสงฆ์ เพื่อเป็นการฝึกจิตสำนึกถึงความบกพร่องของตนเอง และมุ่งประพฤติตนให้ถูกต้อง ตามพระวินัย พิธีเข้าปริวาสกรรมจะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ โดยกำหนดไว้ 9 ราตรี พระภิกษุสงฆ์ที่ต้องการเข้าปริวาสกรรมต้องไปพักอยู่ในสถานที่สงบ ไม่มีผู้คนพลุกพล่าน[1]
สังฆาทิเสส มี 13 ข้อ ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสจะต้องเข้าปริวาสกรรม[5]
1. ปล่อยน้ำอสุจิด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน
2. เคล้าคลึง จับมือ จับช้องผม ลูบคลำ จับต้องอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ
3. พูดจาหยาบคาย เกาะแกะสตรีเพศ เกี้ยวพาราสี
4. การกล่าวถึงคุณในการบำเรอตนด้วยกาม หรือถอยคำพาดพิงเมถุน
5. ทำตัวเป็นสื่อรัก บอกความต้องการของอีกฝ่ายให้กับหญิงหรือชาย แม้สามีกับภรรยา หรือแม้แต่หญิงขายบริการ
6. สร้างกุฏิด้วยการขอ
7. สร้างวิหารใหญ่ โดยพระสงฆ์มิได้กำหนดที่ รุกรานคนอื่น
8. แกล้งใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
9. แกล้งสมมุติแล้วใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
10. ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน
11. เป็นพวกของผู้ที่ทำสงฆ์ให้แตกกัน
12. เป็นผู้ว่ายากสอนยาก และต้องโดนเตือนถึง 3 ครั้ง
13. ทำตัวเป็นเหมือนคนรับใช้ ประจบคฤหัสถ์[5]
การเข้าปริวาสกรรม เป็นการสำรวม กาย วาจา ใจ ไม่ให้กระทำผิดอีกต่อไป มีการนั่งสมาธิเดินจงกรม สวดมนต์ภาวนา ใช้เวลามากกว่าปกติ บางทีมีการอดข้าว อดน้ำถึง 2-3 วันก็มี หรือบางทีก็ถูกอาจารย์กรรมฝึกหนัก ทั้งนี้ก็เพื่อให้รู้และเข้าใจความยากลำบากของคำว่า กรรม หรืออยู่กรรม ที่แม่ได้อยู่ไฟหรือว่าอยู่กรรมนั้นมี ความยากลำบากเพียงไร เพราะฉะนั้น คนในสมัย
ก่อน ๆ จึงมีความตระหนักและเข้าใจในบุญคุณของพ่อแม่ ไม่มีข่าวปรากฏให้ได้ยินเห็นว่าลูกฆ่าพ่อ ตีแม่ ลูกอกตัญญ แต่กลับเทิดทูนพ่อแม่ในฐานะปูชนียบุคคลในระดับครอบครัวอย่างแท้จริง
ในกิจกรรมของพระในการนี้ พุทธศาสนิกชนผู้หวังบุญกุศลก็ร่วมกันดูแลอุปัฎฐาก รักษาพระเจ้าพระสงฆ์ที่เข้าอยู่กรรม บริจาคทาน รักษาศีล ฟังธรรม เกี่ยวกับการเข้าอยู่ปริวาสกรรมของพระภิกษุ เรียกว่า”บุญเข้ากรรม” ส่วนกำหนดการทำบุญดังกล่าวได้กำหนดเอาเดือนอ้าย จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “บุญเดือนอ้าย[6]”
ส่วนกิจของชาวพุทธศาสนิกชนในบุญเข้ากรรมนี้ คือการหาข้าวของเครื่องอุปโภคบริโภถวายพระ ซึ่งถือว่าจะได้บุญมากกว่าการทำบุญตักบาตรทั่วไป
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1#:~:text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%20%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3,%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3