“ผมคิดว่าถึงเวลาที่พวกเราจะต้องหยุดยิงกับซูการ์โน” กล่าวโดย Frank Wisner ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนของ CIA ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 1956 Wisner ได้คุยกับคนในอินโดนีเซียในช่วงที่มีการต่อสู้เรียกร้องเอกราช ซึ่งไม่กี่เดือนก่อนหน้านี้ของพฤษภาคม ซูการ์โนได้กล่าวสุนทรพจน์ด้วยอารมณ์ที่เร่าร้อนก่อนที่ทางสภาอเมริกาได้สอบถามทำความเข้าใจกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับความต้องการของประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศต่างๆ
ทางด้านอเมริกาได้ดำเนินมาตรการเขี่ยเก้าอี้ผู้นำที่โดดเด่น 5 คนในโลกที่มีแนวโน้มในการสมรู้ร่วมคิดกันทางการทหาร
ปีก่อนซูการ์โนได้ทำการตั้งคณะกรรมการ Bandung ในการให้คำตอบกับองค์กร SEATO ทางด้านอเมริกาได้ดำเนินมาตรการทางทหารโดยต่อต้านคอมมิวนิสต์ ในเมือง Bandung ของอินโดนีเซียมีเอกสารที่บันทึกเอาไว้อย่างเป็นกลางโดยมีการกล่าวถึงประเทศที่กำลังพัฒนา รวมไปถึงคนของ CIA ที่อยู่ในประเทศอินโดนีเซียที่มีแนวคิดนอกรีต ส่วนใหญ่พวกเขามีแนวคิดในการลอบสังหารโดยใช้วิธีการก่อวินาศกรรม
ในปี 1975 ทางด้านวุฒิสภาได้ทำการสอบสวน CIA โดยมีการเปิดเผยว่า มีเจ้าหน้าที่หลายคนในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พยายามที่จะลอบสังหารผู้นำโดยอ้างว่าเป็นคอมมิวนิสต์ตามมติที่ประชุมในปี 1955 (ผู้นำหลายคนอย่างเช่นซูการ์โนหรือโจวเอินไหลของจีน) แต่มีการกล่าวว่าทางคณะกรรมการได้โน้มน้าวให้ทางกองบังคับการ CIA ในกรุงวอชิงตันยกเลิกโครงการนี้ซะ
ถึงกระนั้นก็มีคณะผู้แทนจีน 8 คนเดินทางด้วยเครื่องบิน อีกทั้งยังมีคนเวียดนามกับนักหนังสือพิมพ์ชาวยุโรป 2 คนเข้าร่วมประชุมที่ Bandung นั้นตกลงอย่างเป็นปริศนา ทางด้านรัฐบาลจีนอ้างว่า เป็นการก่อวินาศกรรมโดยอเมริกากับไต้หวัน การลอบสังหารโจวเอินไหลประสบความล้มเหลว ทางด้านสายการบินอินเดียก็ได้บินไปที่ฮ่องกงเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปี 1955 ก็ตกลงที่ทะเลจีนใต้ ทางด้านโจวเอินไหลได้ขึ้นสายการบินอินเดียลำอื่นในไม่กี่วันต่อมา ทางด้านรัฐบาลจีนได้อ้างอิงจากรายงานของ Times ที่ประเทศอินเดียที่มีแถลงการณ์ว่า เครื่องบินตกมีสาเหตุมาจากการวางระเบิด 2 แห่งบริเวณเครื่องบินที่ประเทศฮ่องกง มีการตั้งกลไกเวลาเอาไว้บนสายการบินและทางด้านตำรวจฮ่องกงเรียกคดีนี้ว่าเป็น “การสังหารหมู่อย่างแยบยล” หลายเดือนต่อมาทางด้านตำรวจอังกฤษในฮ่องกงได้แถลงการณ์ว่า พวกเขาจะต้องสืบค้นข้อมูลกับคนจีนที่มีหัวชาตินิยมคนหนึ่งเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิดจนนำไปสู่สาเหตุที่ทำให้เกิดเครื่องบินตก แต่เขากลับบินไปที่ไต้หวันแล้ว
ในปี 1967 มีหนังสือที่ไม่เหมือนใครในอินเดียโดยใช้ชื่อว่า ผมเคยเป็นเจ้าหน้าที่ CIA ในอินเดีย เขียนโดย John Discoe Smith เป็นชาวอเมริกัน มีการตีพิมพ์โดยพรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย โดยมีการรวบรวมบทความที่เขียนโดย Smith ที่เขียนให้กับ Literaturnaya Gazeta ในกรุงมอสโกหลังจากที่เขาได้ย้ายออกจากสหภาพโซเวียตราวๆปี 1960 Smith เกิดที่ Quincy,Mass ในปี 1926 มีบันทึกเขียนว่า เขาเคยเป็นช่างเทคนิคและก็เคยเป็นพนักงานอยู่ในสถานทูตอเมริกาประจำกรุงนิวเดลีในปี 1955 โดยมีการปฎิบัติภารกิจตามที่ CIA ได้มอบหมาย หน้าที่อย่างหนึ่งก็คือนำพัสดุของคนจีนชาตินิยมซึ่งต่อมา Smith ก็รู้ว่า ภายในพัสดุมีการบรรจุระเบิด 2 ลูกเพื่อที่จะระเบิดเครื่องบินอินเดีย เมื่อรู้ความจริง Smith ก็ทำอะไรไม่ถูก ซึ่งทางกระทรวงต่างประเทศได้ยืนยันว่า เขาทำงานสถานทูตอเมริกาประจำกรุงนิวเดลีในปี 1954-1959
คณะกรรมการรายงานว่า “มีหลักฐานบางอย่างของ CIA ที่มีความเชื่อมโยงในการวางแผนลอบสังหารประธานาธิบดีซูการ์โนของอินโดนีเซีย” และมีการวางแผนปฎิบัติการโดยใช้เจ้าหน้าที่ที่เชื่อว่าอาจมีการจัดหางานให้ (ทางด้านคณะกรรมการได้บันทึกเอาไว้ส่วนหนึ่งที่ว่า มีความเป็นไปได้ว่า CIA มีความเชื่อมโยงในการลอบสังหารหลายคนและได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการ Health Alteration)
เรื่องนี้ได้สร้างความกังวลใจให้กับผู้นำอเมริกา ซูการ์โนได้เดินทางไปยังสหภาพโซเวียตและจีน (แม้จะเคยเข้าทำเนียบขาวก็ตาม) เขาได้ทำการซื้อขายอาวุธจากประเทศยุโรปตะวันออก (แต่เพียงแค่หลังจากที่เจรจากับอเมริกาล้มเหลว) เขามีแนวคิดชาตินิยมในการยึดบริษัทเอกชนของดัตช์หลายแห่ง และบางทีก็อาจจะนำไปสู่ความขัดแย้งขึ้นมา พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (PKI) มองเห็นประโยชน์ของการเลือกตั้งและการจัดตั้งสหภาพ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญในการจัดตั้งรัฐบาลผสม
ประเทศโลกที่สามก็มีเหตุการณ์ลักษณะคล้ายคลึงกัน และนโยบายวอชิงตันก็มีปฎิกิริยาในเรื่องของความเท่าเทียมกัน หลายประเทศจึงไม่สามารถใช้แนวคิดความเป็นชาตินิยมในแบบคอมมิวนิสต์ได้ คนที่ไม่ฝักฝ่ายใดก็มองเห็นถึงความเลวร้าย จากข้อมูลต่างๆพบว่า ซูการ์โนไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ เขาเป็นชาวอินโดนีเซียที่มีแนวคิดชาตินิยมและแนวคิดของซูการ์โนก็ได้ถูกทำลายโดยฝ่าย PKI ในปี 1948 หลังจากที่มีการประกาศเอกราชแล้ว เขาได้เดินหน้าสนับสนุนไม่ว่าจะเป็น PKI กับกองทัพเพื่อคานอำนาจของตัวเอง เนื่องจากเขาถูกขับออกจาก PKI พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายล้านคน ทางซูการ์โนจึงได้ประกาศว่า “ผมไม่สามารถขี่ม้าที่มีสามขาได้”
อย่างไรก็ตามทางอเมริกาเห็นว่า การคานอำนาจของซูการ์โนจะนำไปสู่สถานการณ์ที่ล่อแหลมทางการเมือง ไม่สำคัญว่าทางกรุงวอชิงตันมองว่าพรรคคอมมิวนิสต์จะเดินเกมทางกฎหมายอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นการปูทางไปสู่สันติภาพหรือวิกฤตหายนะในประเทศอินโดนีเซีย แต่สิ่งสำคัญก็คือทางอเมริกาจะอ้างเหตุผลในการแทรกแซงกิจการภายในประเทศได้อย่างไร
นี่ไม่ใช่เป็นครั้งแรก ในปี 1955 ระหว่างที่มีการหาเสียงเลือกตั้งในประเทศอินโดนีเซีย ทางด้าน CIA ได้จ่ายเงินหลายล้านดอลลาร์ให้กับพรรคมาชูมี ซึ่งเป็นพรรคขององค์กรมุสลิมเพื่อขัดขวางพรรคชาตินิยมของนายซูการ์โนแบบเดียวกับพรรค PKI สอดคล้องกับอดีตเจ้าหน้าที่ของ CIA อย่าง Joseph Burkholder Smith ซึ่งเป็นคนจดรายละเอียดในเรื่องของเงินทุนที่ให้ความเห็นว่า ข้อมูลทางด้านบัญชีไม่สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง ผมยังไม่พบมูลเหตุเลยว่า ทำไมมาชูมีถึงได้ใช้เงินทุนมากมายอะไรขนาดนั้น
ในปี 1957 CIA ประเมินว่า จะต้องมีการเข้าไปควบคุมสถานการณ์ ซึ่งไม่ใช่เรื่องยากที่พบว่าชาวอินโดนีเซียหลายคนติดอาวุธซึ่งรวมไปถึงเจ้าหน้าที่กองทัพกับคนอื่นๆที่มีแนวคิดอุดมการณ์อันแรงกล้า และเนื่องจากพวกเขาไม่ชอบที่พรรค PKI เข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองที่ต้องการให้นายซูการ์โนออกไป หรืออย่างน้อยก็ไล่ให้ไปอยู่เกาะอื่น (อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีหมู่เกาะมากที่สุดในโลกโดยมีประมาณ 3 พันกว่าเกาะ)
ปฎิบัติการทางการทหารของ CIA ได้เลือกที่จะขอความช่วยเหลือจากทางเพนตากอน ซึ่งสามารถดำเนินแผนการได้หากมีการอนุมัติจากสภาความมั่งคงแห่งชาติที่เรียกว่า “ฝ่ายปฎิบัติการพิเศษ” (เป็นกลุ่มเจ้าหน้าที่ระดับสูงเล็กๆที่สามารถใช้อำนาจแบบเดียวกับประธานาธิบดี ทั้งคุ้มกันประธานาธิบดีและปกป้องประเทศโดยดำเนินการอย่างลับๆและปกปิดการกระทำของ CIA เป็นที่รู้กันดีจากคณะกรรมการ 5412,คณะกรรมการ 303,คณะกรรมการ 40 หรือ Operations Advisory Group)
การได้รับอนุมัตินี้ก็มีบันทึกที่แสดงให้เห็นว่า CIA บางครั้งชอบกำหนดทิศทางนโยบายต่างประเทศ Joseph Burkholder Smith ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่อินโดนีเซียประจำกรุงวอชิงตันในช่วงกลางปี 1956-1958 ก็ได้อธิบายถึงเรื่องราวต่างๆที่เขาประสบมา ในช่วงแรกแทนที่จะดำเนินตามแบบแผนที่ได้รับอนุมัติจากกรุงวอชิงตัน ที่ก่อนหน้านี้อาจมีความเป็นไปได้ว่ามีการระงับเรื่องนี้
พวกเราเริ่มคิดว่าฝ่ายข่าวกรองของกระทรวงต่างประเทศไม่มีใครเลยที่รู้ว่า การเข้าไปแทรกแซงอินโดนีเซียจะเกิดประโยชน์อะไร เมื่อพวกเขาได้อ่านรายงานเตือนต่างๆ พวกเราก็เริ่มวางแผนตามคำแนะนำที่ว่า พวกเราควรที่จะสนับสนุนเหล่านายพันเพื่อลดทอนอำนาจของซูการ์โน วิธีการแบบนี้ก็เป็นวิธีการเบื้องต้นในการแทรกแซงทางการเมืองในช่วงปี 1960 กับ 1970 พูดง่ายๆก็คือ แถลงการณ์นี้นำไปสู่ความเข้าใจผิดที่ว่า CIA จะเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในประเทศเหมือนกับชิลีหลังจากที่ดำเนินมาตรการแบบนี้ออกมาแล้วจากฝ่ายปฎิบัติการพิเศษ ในหลายกรณีตัวอย่างพวกเราได้ดำเนินเคลื่อนไหวตามโปรแกรมหลังจากที่พวกเราได้ทำการรวบรวมข้อมูลข่าวกรองมากพอต่อการทำความเข้าใจกับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น การเคลื่อนไหวของพวกเราที่อินโดนีเซียในปี 1957-1958 ถือเป็นอีกกรณีตัวอย่างหนึ่ง
เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์กำลังเดินหน้าไปด้วยดีในการเลือกตั้งท้องถิ่นในช่วงเดือนกรกฎาคม CIA มองว่าเรื่องนี้จะช่วยให้พวกเขาโน้มน้าวต่อกรุงวอชิงตันได้ว่า ประเทศอินโดนีเซียมีสถานการณ์ที่เลวร้ายอย่างไร มีเพียงคนเดียวก็คือ ทูต Allison ที่มองว่า การที่พรรค PKI ได้รับชัยชนะไม่ได้เป็นความเลวร้ายแต่อย่างใด สำคัญก็คือพวกเขาจะต้องโน้มน้าวให้ John Foster Dulles คิดว่า เขาเป็นคนที่ไม่เหมาะสมในอินโดนีเซีย กงล้อก็เริ่มหมุนสะดุดลงไม่ให้มีการดำเนินการดังกล่าว โดย John Allison ก็ได้เขียนว่า Smith ไม่ได้เป็นคนที่ได้รับการยอมรับจาก CIA มาตั้งแต่ต้น และก่อนปี 1958 หลังจากที่เขาได้เขียนแบบนี้ เขาก็ถูกสับเปลี่ยนตำแหน่งโดย Howard Jones ซึ่งเป็นคนที่ให้การสนับสนุน CIA ในประเทศอินโดนีเซียอย่างเต็มที่
วันที่ 30 พฤศจิกายน ปี 1957 มีมือระเบิดหลายคนได้ขว้างลูกระเบิดใส่ซูการ์โนตอนที่เขาออกจากโรงเรียน เขาได้รับบาดเจ็บ แต่ก็มีผู้เสียชีวิตถึง 10 คนและเด็กอีก 48 คนได้รับบาดเจ็บ ทางด้าน CIA ที่อยู่ในอินโดนีเซียก็ไม่สามารถหาตัวผู้รับผิดชอบได้ แต่มีการพูดลอยๆออกมาอย่างรวดเร็วว่า พรรค PKI อยู่เบื้องหลัง มีการระบุว่าพรรคมีความสัมพันธ์อันดีกับสหภาพโซเวียตโดยที่ฝ่ายตรงข้ามซูการ์โนก็ถูกกวาดล้างครั้งใหญ่ ในทางกลับกันผู้ก่อเหตุเป็นกลุ่มมุสลิมที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพรรค PKI หรือเจ้าหน้าที่ทางการทหารแต่อย่างใด
ประเด็นก็คือมีการคาดการณ์ว่า ซูการ์โนมีความสัมพันธ์อันดีกับฝ่ายคอมมิวนิสต์เพื่อปูทางตัวเองขึ้นสู่อำนาจ ทาง CIA จึงตัดสินใจที่จะทำรายงานออกมาว่า มีหญิงสาวหลายคนขึ้นเครื่องบินกับซูการ์โนทุกๆครั้ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างที่เขาไปสหภาพโซเวียตกับผู้หญิงคนเดิมก็ได้มาเยือนอินโดนีเซียพร้อมกับผู้นำโซเวียต Kliment Voroshilov และก็ใช้เวลาหลายครั้งประชุมกับซูการ์โน แนวคิดก็คือ จะต้องให้ผู้คนมองว่าซูการ์โนเป็นคนเจ้าชู้ซึ่งตกหลุมพรางเจ้าหน้าที่สายลับโซเวียต เขาจึงยอมให้โซเวียตเป็นหุ่นเชิด CIA รายงานเป็นนัยๆว่า มาจากการกลัวโดนแบล็กเมล์หรือถูกฝ่ายหญิงเกี้ยวพาราสี หรือทั้งสองอย่าง
“รูปแบบนี้ทางสายการบินของพวกเรามีการจัดตั้งขึ้นมา” Smith เขียน “พวกเราให้ความสำคัญกับข้อเท็จจริงเพื่อให้เข้าถึงประเด็นนี้ โดยเรื่องนี้จะแพร่สะพัดไปทั่วโลกและเมื่อมีการประชุมกัน ทางด้านอังกฤษก็ได้ทำการประเมินวิเคราะห์แล้วว่าอินโดนีเซียจะมีสถานการณ์รุนแรงในเดือนมีนาคมปี 1958 จึงเห็นว่าซูการ์โนควรที่จะถูกแบล็คลิสค์เอาไว้จากสายลับหญิงโซเวียตด้วยเหตุผลที่จะมีการก่อจลาจลเกิดขึ้น”
ดูเหมือนว่าการปฎิบัติการครั้งนี้จะทำให้เจ้าหน้าที่ CIA หลายคนมีแรงจูงใจเดินหน้าปฎิบัติการครั้งนี้ต่อไป ประเด็นที่สำคัญก็คือมีการสร้างหนังโป๊หรืออย่างน้อยก็มีภาพถ่ายอื้อฉาวซูการ์โนกับเพื่อนหญิงชาวรัสเซียที่เป็นนักเคลื่อนไหวที่เขาชื่นชอบ เมื่อมีการตรวจสอบหนังโป๊อย่างละเอียดแล้ว (จากผู้บังคับการตำรวจของลอสแอนเจลิส) ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าคนไหนคือซูการ์โน (เป็นคนผิวดำและเป็นชายหัวล้าน) และคนไหนคือหญิงสาวผมบลอนด์ชาวรัสเซีย ทางด้าน CIA ดำเนินการสร้างหนังขึ้นมาด้วยตัวเอง “โดยจะต้องหนังที่ทำให้เชื่อว่า ซูการ์โนถูกทางสหภาพโซเวียตแบล็คเมล์” ทางด้านเจ้าหน้าที่ก็ได้หานักแสดงที่เหมือนกับผู้นำอินโดนีเซียโดยส่งข่าวให้กับทางเจ้าหน้าที่ตำรวจลอสแอนเจลิสว่า ได้จ่ายเงินให้กับนักแสดงหนังให้เหมือนกับผู้นำอินโดนีเซียในแต่ละฉาก แผนการนี้ยังมีคิดถึงการสร้างภาพถ่ายขึ้นมาแม้ว่าพวกเขาจะยังไม่ได้ดำเนินการเลยก็ตาม
อินโดนีเซียปี 1957-1958 : สงครามกับหนังโป๊
“ผมคิดว่าถึงเวลาที่พวกเราจะต้องหยุดยิงกับซูการ์โน” กล่าวโดย Frank Wisner ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนของ CIA ในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 1956 Wisner ได้คุยกับคนในอินโดนีเซียในช่วงที่มีการต่อสู้เรียกร้องเอกราช ซึ่งไม่กี่เดือนก่อนหน้านี้ของพฤษภาคม ซูการ์โนได้กล่าวสุนทรพจน์ด้วยอารมณ์ที่เร่าร้อนก่อนที่ทางสภาอเมริกาได้สอบถามทำความเข้าใจกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับความต้องการของประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศต่างๆ
ทางด้านอเมริกาได้ดำเนินมาตรการเขี่ยเก้าอี้ผู้นำที่โดดเด่น 5 คนในโลกที่มีแนวโน้มในการสมรู้ร่วมคิดกันทางการทหาร
ปีก่อนซูการ์โนได้ทำการตั้งคณะกรรมการ Bandung ในการให้คำตอบกับองค์กร SEATO ทางด้านอเมริกาได้ดำเนินมาตรการทางทหารโดยต่อต้านคอมมิวนิสต์ ในเมือง Bandung ของอินโดนีเซียมีเอกสารที่บันทึกเอาไว้อย่างเป็นกลางโดยมีการกล่าวถึงประเทศที่กำลังพัฒนา รวมไปถึงคนของ CIA ที่อยู่ในประเทศอินโดนีเซียที่มีแนวคิดนอกรีต ส่วนใหญ่พวกเขามีแนวคิดในการลอบสังหารโดยใช้วิธีการก่อวินาศกรรม
ในปี 1975 ทางด้านวุฒิสภาได้ทำการสอบสวน CIA โดยมีการเปิดเผยว่า มีเจ้าหน้าที่หลายคนในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พยายามที่จะลอบสังหารผู้นำโดยอ้างว่าเป็นคอมมิวนิสต์ตามมติที่ประชุมในปี 1955 (ผู้นำหลายคนอย่างเช่นซูการ์โนหรือโจวเอินไหลของจีน) แต่มีการกล่าวว่าทางคณะกรรมการได้โน้มน้าวให้ทางกองบังคับการ CIA ในกรุงวอชิงตันยกเลิกโครงการนี้ซะ
ถึงกระนั้นก็มีคณะผู้แทนจีน 8 คนเดินทางด้วยเครื่องบิน อีกทั้งยังมีคนเวียดนามกับนักหนังสือพิมพ์ชาวยุโรป 2 คนเข้าร่วมประชุมที่ Bandung นั้นตกลงอย่างเป็นปริศนา ทางด้านรัฐบาลจีนอ้างว่า เป็นการก่อวินาศกรรมโดยอเมริกากับไต้หวัน การลอบสังหารโจวเอินไหลประสบความล้มเหลว ทางด้านสายการบินอินเดียก็ได้บินไปที่ฮ่องกงเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปี 1955 ก็ตกลงที่ทะเลจีนใต้ ทางด้านโจวเอินไหลได้ขึ้นสายการบินอินเดียลำอื่นในไม่กี่วันต่อมา ทางด้านรัฐบาลจีนได้อ้างอิงจากรายงานของ Times ที่ประเทศอินเดียที่มีแถลงการณ์ว่า เครื่องบินตกมีสาเหตุมาจากการวางระเบิด 2 แห่งบริเวณเครื่องบินที่ประเทศฮ่องกง มีการตั้งกลไกเวลาเอาไว้บนสายการบินและทางด้านตำรวจฮ่องกงเรียกคดีนี้ว่าเป็น “การสังหารหมู่อย่างแยบยล” หลายเดือนต่อมาทางด้านตำรวจอังกฤษในฮ่องกงได้แถลงการณ์ว่า พวกเขาจะต้องสืบค้นข้อมูลกับคนจีนที่มีหัวชาตินิยมคนหนึ่งเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิดจนนำไปสู่สาเหตุที่ทำให้เกิดเครื่องบินตก แต่เขากลับบินไปที่ไต้หวันแล้ว
ในปี 1967 มีหนังสือที่ไม่เหมือนใครในอินเดียโดยใช้ชื่อว่า ผมเคยเป็นเจ้าหน้าที่ CIA ในอินเดีย เขียนโดย John Discoe Smith เป็นชาวอเมริกัน มีการตีพิมพ์โดยพรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย โดยมีการรวบรวมบทความที่เขียนโดย Smith ที่เขียนให้กับ Literaturnaya Gazeta ในกรุงมอสโกหลังจากที่เขาได้ย้ายออกจากสหภาพโซเวียตราวๆปี 1960 Smith เกิดที่ Quincy,Mass ในปี 1926 มีบันทึกเขียนว่า เขาเคยเป็นช่างเทคนิคและก็เคยเป็นพนักงานอยู่ในสถานทูตอเมริกาประจำกรุงนิวเดลีในปี 1955 โดยมีการปฎิบัติภารกิจตามที่ CIA ได้มอบหมาย หน้าที่อย่างหนึ่งก็คือนำพัสดุของคนจีนชาตินิยมซึ่งต่อมา Smith ก็รู้ว่า ภายในพัสดุมีการบรรจุระเบิด 2 ลูกเพื่อที่จะระเบิดเครื่องบินอินเดีย เมื่อรู้ความจริง Smith ก็ทำอะไรไม่ถูก ซึ่งทางกระทรวงต่างประเทศได้ยืนยันว่า เขาทำงานสถานทูตอเมริกาประจำกรุงนิวเดลีในปี 1954-1959
คณะกรรมการรายงานว่า “มีหลักฐานบางอย่างของ CIA ที่มีความเชื่อมโยงในการวางแผนลอบสังหารประธานาธิบดีซูการ์โนของอินโดนีเซีย” และมีการวางแผนปฎิบัติการโดยใช้เจ้าหน้าที่ที่เชื่อว่าอาจมีการจัดหางานให้ (ทางด้านคณะกรรมการได้บันทึกเอาไว้ส่วนหนึ่งที่ว่า มีความเป็นไปได้ว่า CIA มีความเชื่อมโยงในการลอบสังหารหลายคนและได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการ Health Alteration)
เรื่องนี้ได้สร้างความกังวลใจให้กับผู้นำอเมริกา ซูการ์โนได้เดินทางไปยังสหภาพโซเวียตและจีน (แม้จะเคยเข้าทำเนียบขาวก็ตาม) เขาได้ทำการซื้อขายอาวุธจากประเทศยุโรปตะวันออก (แต่เพียงแค่หลังจากที่เจรจากับอเมริกาล้มเหลว) เขามีแนวคิดชาตินิยมในการยึดบริษัทเอกชนของดัตช์หลายแห่ง และบางทีก็อาจจะนำไปสู่ความขัดแย้งขึ้นมา พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (PKI) มองเห็นประโยชน์ของการเลือกตั้งและการจัดตั้งสหภาพ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญในการจัดตั้งรัฐบาลผสม
ประเทศโลกที่สามก็มีเหตุการณ์ลักษณะคล้ายคลึงกัน และนโยบายวอชิงตันก็มีปฎิกิริยาในเรื่องของความเท่าเทียมกัน หลายประเทศจึงไม่สามารถใช้แนวคิดความเป็นชาตินิยมในแบบคอมมิวนิสต์ได้ คนที่ไม่ฝักฝ่ายใดก็มองเห็นถึงความเลวร้าย จากข้อมูลต่างๆพบว่า ซูการ์โนไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ เขาเป็นชาวอินโดนีเซียที่มีแนวคิดชาตินิยมและแนวคิดของซูการ์โนก็ได้ถูกทำลายโดยฝ่าย PKI ในปี 1948 หลังจากที่มีการประกาศเอกราชแล้ว เขาได้เดินหน้าสนับสนุนไม่ว่าจะเป็น PKI กับกองทัพเพื่อคานอำนาจของตัวเอง เนื่องจากเขาถูกขับออกจาก PKI พร้อมกับสมาชิกพรรคอีกหลายล้านคน ทางซูการ์โนจึงได้ประกาศว่า “ผมไม่สามารถขี่ม้าที่มีสามขาได้”
อย่างไรก็ตามทางอเมริกาเห็นว่า การคานอำนาจของซูการ์โนจะนำไปสู่สถานการณ์ที่ล่อแหลมทางการเมือง ไม่สำคัญว่าทางกรุงวอชิงตันมองว่าพรรคคอมมิวนิสต์จะเดินเกมทางกฎหมายอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นการปูทางไปสู่สันติภาพหรือวิกฤตหายนะในประเทศอินโดนีเซีย แต่สิ่งสำคัญก็คือทางอเมริกาจะอ้างเหตุผลในการแทรกแซงกิจการภายในประเทศได้อย่างไร
นี่ไม่ใช่เป็นครั้งแรก ในปี 1955 ระหว่างที่มีการหาเสียงเลือกตั้งในประเทศอินโดนีเซีย ทางด้าน CIA ได้จ่ายเงินหลายล้านดอลลาร์ให้กับพรรคมาชูมี ซึ่งเป็นพรรคขององค์กรมุสลิมเพื่อขัดขวางพรรคชาตินิยมของนายซูการ์โนแบบเดียวกับพรรค PKI สอดคล้องกับอดีตเจ้าหน้าที่ของ CIA อย่าง Joseph Burkholder Smith ซึ่งเป็นคนจดรายละเอียดในเรื่องของเงินทุนที่ให้ความเห็นว่า ข้อมูลทางด้านบัญชีไม่สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง ผมยังไม่พบมูลเหตุเลยว่า ทำไมมาชูมีถึงได้ใช้เงินทุนมากมายอะไรขนาดนั้น
ในปี 1957 CIA ประเมินว่า จะต้องมีการเข้าไปควบคุมสถานการณ์ ซึ่งไม่ใช่เรื่องยากที่พบว่าชาวอินโดนีเซียหลายคนติดอาวุธซึ่งรวมไปถึงเจ้าหน้าที่กองทัพกับคนอื่นๆที่มีแนวคิดอุดมการณ์อันแรงกล้า และเนื่องจากพวกเขาไม่ชอบที่พรรค PKI เข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองที่ต้องการให้นายซูการ์โนออกไป หรืออย่างน้อยก็ไล่ให้ไปอยู่เกาะอื่น (อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีหมู่เกาะมากที่สุดในโลกโดยมีประมาณ 3 พันกว่าเกาะ)
ปฎิบัติการทางการทหารของ CIA ได้เลือกที่จะขอความช่วยเหลือจากทางเพนตากอน ซึ่งสามารถดำเนินแผนการได้หากมีการอนุมัติจากสภาความมั่งคงแห่งชาติที่เรียกว่า “ฝ่ายปฎิบัติการพิเศษ” (เป็นกลุ่มเจ้าหน้าที่ระดับสูงเล็กๆที่สามารถใช้อำนาจแบบเดียวกับประธานาธิบดี ทั้งคุ้มกันประธานาธิบดีและปกป้องประเทศโดยดำเนินการอย่างลับๆและปกปิดการกระทำของ CIA เป็นที่รู้กันดีจากคณะกรรมการ 5412,คณะกรรมการ 303,คณะกรรมการ 40 หรือ Operations Advisory Group)
การได้รับอนุมัตินี้ก็มีบันทึกที่แสดงให้เห็นว่า CIA บางครั้งชอบกำหนดทิศทางนโยบายต่างประเทศ Joseph Burkholder Smith ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่อินโดนีเซียประจำกรุงวอชิงตันในช่วงกลางปี 1956-1958 ก็ได้อธิบายถึงเรื่องราวต่างๆที่เขาประสบมา ในช่วงแรกแทนที่จะดำเนินตามแบบแผนที่ได้รับอนุมัติจากกรุงวอชิงตัน ที่ก่อนหน้านี้อาจมีความเป็นไปได้ว่ามีการระงับเรื่องนี้
พวกเราเริ่มคิดว่าฝ่ายข่าวกรองของกระทรวงต่างประเทศไม่มีใครเลยที่รู้ว่า การเข้าไปแทรกแซงอินโดนีเซียจะเกิดประโยชน์อะไร เมื่อพวกเขาได้อ่านรายงานเตือนต่างๆ พวกเราก็เริ่มวางแผนตามคำแนะนำที่ว่า พวกเราควรที่จะสนับสนุนเหล่านายพันเพื่อลดทอนอำนาจของซูการ์โน วิธีการแบบนี้ก็เป็นวิธีการเบื้องต้นในการแทรกแซงทางการเมืองในช่วงปี 1960 กับ 1970 พูดง่ายๆก็คือ แถลงการณ์นี้นำไปสู่ความเข้าใจผิดที่ว่า CIA จะเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในประเทศเหมือนกับชิลีหลังจากที่ดำเนินมาตรการแบบนี้ออกมาแล้วจากฝ่ายปฎิบัติการพิเศษ ในหลายกรณีตัวอย่างพวกเราได้ดำเนินเคลื่อนไหวตามโปรแกรมหลังจากที่พวกเราได้ทำการรวบรวมข้อมูลข่าวกรองมากพอต่อการทำความเข้าใจกับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น การเคลื่อนไหวของพวกเราที่อินโดนีเซียในปี 1957-1958 ถือเป็นอีกกรณีตัวอย่างหนึ่ง
เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์กำลังเดินหน้าไปด้วยดีในการเลือกตั้งท้องถิ่นในช่วงเดือนกรกฎาคม CIA มองว่าเรื่องนี้จะช่วยให้พวกเขาโน้มน้าวต่อกรุงวอชิงตันได้ว่า ประเทศอินโดนีเซียมีสถานการณ์ที่เลวร้ายอย่างไร มีเพียงคนเดียวก็คือ ทูต Allison ที่มองว่า การที่พรรค PKI ได้รับชัยชนะไม่ได้เป็นความเลวร้ายแต่อย่างใด สำคัญก็คือพวกเขาจะต้องโน้มน้าวให้ John Foster Dulles คิดว่า เขาเป็นคนที่ไม่เหมาะสมในอินโดนีเซีย กงล้อก็เริ่มหมุนสะดุดลงไม่ให้มีการดำเนินการดังกล่าว โดย John Allison ก็ได้เขียนว่า Smith ไม่ได้เป็นคนที่ได้รับการยอมรับจาก CIA มาตั้งแต่ต้น และก่อนปี 1958 หลังจากที่เขาได้เขียนแบบนี้ เขาก็ถูกสับเปลี่ยนตำแหน่งโดย Howard Jones ซึ่งเป็นคนที่ให้การสนับสนุน CIA ในประเทศอินโดนีเซียอย่างเต็มที่
วันที่ 30 พฤศจิกายน ปี 1957 มีมือระเบิดหลายคนได้ขว้างลูกระเบิดใส่ซูการ์โนตอนที่เขาออกจากโรงเรียน เขาได้รับบาดเจ็บ แต่ก็มีผู้เสียชีวิตถึง 10 คนและเด็กอีก 48 คนได้รับบาดเจ็บ ทางด้าน CIA ที่อยู่ในอินโดนีเซียก็ไม่สามารถหาตัวผู้รับผิดชอบได้ แต่มีการพูดลอยๆออกมาอย่างรวดเร็วว่า พรรค PKI อยู่เบื้องหลัง มีการระบุว่าพรรคมีความสัมพันธ์อันดีกับสหภาพโซเวียตโดยที่ฝ่ายตรงข้ามซูการ์โนก็ถูกกวาดล้างครั้งใหญ่ ในทางกลับกันผู้ก่อเหตุเป็นกลุ่มมุสลิมที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับพรรค PKI หรือเจ้าหน้าที่ทางการทหารแต่อย่างใด
ประเด็นก็คือมีการคาดการณ์ว่า ซูการ์โนมีความสัมพันธ์อันดีกับฝ่ายคอมมิวนิสต์เพื่อปูทางตัวเองขึ้นสู่อำนาจ ทาง CIA จึงตัดสินใจที่จะทำรายงานออกมาว่า มีหญิงสาวหลายคนขึ้นเครื่องบินกับซูการ์โนทุกๆครั้ง ไม่ว่าจะเป็นระหว่างที่เขาไปสหภาพโซเวียตกับผู้หญิงคนเดิมก็ได้มาเยือนอินโดนีเซียพร้อมกับผู้นำโซเวียต Kliment Voroshilov และก็ใช้เวลาหลายครั้งประชุมกับซูการ์โน แนวคิดก็คือ จะต้องให้ผู้คนมองว่าซูการ์โนเป็นคนเจ้าชู้ซึ่งตกหลุมพรางเจ้าหน้าที่สายลับโซเวียต เขาจึงยอมให้โซเวียตเป็นหุ่นเชิด CIA รายงานเป็นนัยๆว่า มาจากการกลัวโดนแบล็กเมล์หรือถูกฝ่ายหญิงเกี้ยวพาราสี หรือทั้งสองอย่าง
“รูปแบบนี้ทางสายการบินของพวกเรามีการจัดตั้งขึ้นมา” Smith เขียน “พวกเราให้ความสำคัญกับข้อเท็จจริงเพื่อให้เข้าถึงประเด็นนี้ โดยเรื่องนี้จะแพร่สะพัดไปทั่วโลกและเมื่อมีการประชุมกัน ทางด้านอังกฤษก็ได้ทำการประเมินวิเคราะห์แล้วว่าอินโดนีเซียจะมีสถานการณ์รุนแรงในเดือนมีนาคมปี 1958 จึงเห็นว่าซูการ์โนควรที่จะถูกแบล็คลิสค์เอาไว้จากสายลับหญิงโซเวียตด้วยเหตุผลที่จะมีการก่อจลาจลเกิดขึ้น”
ดูเหมือนว่าการปฎิบัติการครั้งนี้จะทำให้เจ้าหน้าที่ CIA หลายคนมีแรงจูงใจเดินหน้าปฎิบัติการครั้งนี้ต่อไป ประเด็นที่สำคัญก็คือมีการสร้างหนังโป๊หรืออย่างน้อยก็มีภาพถ่ายอื้อฉาวซูการ์โนกับเพื่อนหญิงชาวรัสเซียที่เป็นนักเคลื่อนไหวที่เขาชื่นชอบ เมื่อมีการตรวจสอบหนังโป๊อย่างละเอียดแล้ว (จากผู้บังคับการตำรวจของลอสแอนเจลิส) ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าคนไหนคือซูการ์โน (เป็นคนผิวดำและเป็นชายหัวล้าน) และคนไหนคือหญิงสาวผมบลอนด์ชาวรัสเซีย ทางด้าน CIA ดำเนินการสร้างหนังขึ้นมาด้วยตัวเอง “โดยจะต้องหนังที่ทำให้เชื่อว่า ซูการ์โนถูกทางสหภาพโซเวียตแบล็คเมล์” ทางด้านเจ้าหน้าที่ก็ได้หานักแสดงที่เหมือนกับผู้นำอินโดนีเซียโดยส่งข่าวให้กับทางเจ้าหน้าที่ตำรวจลอสแอนเจลิสว่า ได้จ่ายเงินให้กับนักแสดงหนังให้เหมือนกับผู้นำอินโดนีเซียในแต่ละฉาก แผนการนี้ยังมีคิดถึงการสร้างภาพถ่ายขึ้นมาแม้ว่าพวกเขาจะยังไม่ได้ดำเนินการเลยก็ตาม