เนื่องจาก ยังมีความสับสน
ในแหล่งที่มาของชื่อ ดังนี้ ที่ผมได้อ่าน จากเฟส ของน้องที่รู้จักกัน และ สับสนว่าตกลงคนไทยส่วนใหญ่ ใช้ คำใดกันแน่ เรียกชื่อเห็ดชนิดนี้ เพราะเห็นมีใช้หลายรูปมาครับ
ข้อความคัดมา
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เห็นละคันไม้คันมือ
ตามภาพบอกว่ามันชื่อ "เอรินหงิ" (เข้าใจว่าคงถอดมาจากภาษาญี่ปุ่น "eringi"
มาดูกันก่อนดีกว่าว่าจริงๆ แล้วไอเห็นนี่มันชื่ออะไร
เจ้าเห็นชนิดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ตามระบบทวินามว่า Pleurotus eryngii (อ่านว่าอะไรช่างแม่มไปก่อน)
มาดูที่คำว่า eryngii ซึ่งเป็นที่มาขอชื่อที่เราเรียกมันอยู่ทุกวันนี้ว่า ออรินจิ เออริจิ ออริจิน จนไปถึง ออริจินัล ก็มี = ="
"eryngii" สำหรับใครที่ชินกับระบบชื่อทวินาม เห็นปุ๊บคงร้องอ๋อว่าชื่อมันมาจากชื่ออีตา eryng ซึ่งอาจจะเป็นคนค้นพบ หรืออะไรก็แล้วแต่แต่เขาตั้งชื่อใช้เป็นเกียรติ โดยหลักแล้วถ้าเป็นผู้ชายจะเติม ii เข้าไปต่อท้ายชื่อ (ไม่ชัวร์หลักเท่าไหร่ใครเรียนสายนี้รบกวนแก้)
เอาหละ แล้วจะพูดอะไรละเนี่ยลืม....
เห็นชนิดนี้เป็นเห็นที่มีถิ่นกำเนิดที่ยุโรป ดูจากชื่อ eryng (อ่านว่าไรวะ) ซึ่งหาๆ ดูพบว่าเป็นชื่อคนอิตาลี่ (?) บลา ๆ
สรุปที่จะพูดคือ จะเรียกมันว่าอะไรก็เรียกไปเหอะ แต่ไอ เอรินหงิ เนี่ยไม่ใช่ชื่อจริงๆ ของมันอยู่ดี ถ้าอยากจะออกเสียงถูกต้องตามหลักจริงๆ คงต้องไปดูหลักวิธีการอ่านชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งมีอยู่แต่ลืมไปละ คร่าว ๆ น่าจะประมาณ "เอรินจิอาย" (ทำเสียงดัดๆ หน่อย) แต่เพื่อการสื่อสารให้รู้เรื่องเวลาสั่งอาหารก็เรียกไปตามภาษาบ้านๆ เราแหละครับ ออรินจิ เออรินจิ ออริจิน ไรก็ว่าไปตามแต่จะคุยกับพ่อครัว แม่ครัวรู้เรื่อง
สวัสดี
ปล. วรรค g ในภาษาญี่ปุ่นมันออกเสียง "ง" หรอฟระ ?
ัby Alrescha
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แต่ผมก็ได้ลองค้นดู ก็ได้พบว่า
มันน่าจะมีที่มาต่างออกไป และออกเสียงในภาษาต่างๆได้ดังนี้ครับ
๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙
ชื่อ specific epitet ของ Pleurotus eryngii (DC.) Quél. 1872 เขาไม่ได้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติต่อบุคคล หรือคณะบุคคลใดนะครับ
หากแต่ specific epitet หมายถึง เห็ดสกุล Pleurptus ชนิดหนึ่ง ที่ชอบขึ้น ที่รากต้น eryngo หรือ sea holly ซึ่งจัดอยู่ในสกุล Eryngium L. ซึ่งมี eryngii เป็นรูป Singular genitive ของ eryngium ซึ่งเป็นละติน หมายถึง ต้น Sea holly ซึ่งภาษาละตินยุครุ่งเรือง ( ēryngĭon ) รับมาจาก ภาษากรีกโบราณ (ἠρύγγιον) / อีกทอดหนึ่ง
(ἠρύγγιον) > Ancient Greek / ɛː. ryŋ.ɡi.on /
( ēryngĭon ) >Classical Latin / eː ˈryŋ.ɡɪ.ɔn /
eryngii > Modern Botanical Latin (Continental)/ eː ˈryŋ.ɡɪ.i / or (Anglicised)/ iː ˈriŋ.ɡɪ.ai /
エリンギ > (romanzi) eringi > Standard Japanese / e . ɾiŋ͡.i /
ออรินจิ > Siamese / ʔɔː 1. rin 1 ˈ ʨiʔ 2 /
เอริงงิ > Siamese / ʔeː 1. riŋ 1 ˈ ŋiʔ 4 /
เอริงหงิ > Siamese / ʔeː 1. riŋ 1 ˈ ŋiʔ 2 /
เอรินหงิ > Siamese / ʔeː 1. rin 1 ˈ ŋiʔ 2 /
copyright 2016 Prapanth Iamwiriyakul
๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙
จึงใคร่เรียนสอบถามว่า จริงๆ แล้วคนไทย ใช้ คำไหนเรียกชื่อเห็ดชนิดนี้ครับ
*** ปิดโหวต วันที่ 08 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 เวลา 01:57:13 น.
๙๙๙ คุณชอบเรียกเห็ด eryngi ในภาษาไทย ว่าอย่างไรครับ ๙๙๙
เนื่องจาก ยังมีความสับสน
ในแหล่งที่มาของชื่อ ดังนี้ ที่ผมได้อ่าน จากเฟส ของน้องที่รู้จักกัน และ สับสนว่าตกลงคนไทยส่วนใหญ่ ใช้ คำใดกันแน่ เรียกชื่อเห็ดชนิดนี้ เพราะเห็นมีใช้หลายรูปมาครับ
ข้อความคัดมา
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เห็นละคันไม้คันมือ
ตามภาพบอกว่ามันชื่อ "เอรินหงิ" (เข้าใจว่าคงถอดมาจากภาษาญี่ปุ่น "eringi"
มาดูกันก่อนดีกว่าว่าจริงๆ แล้วไอเห็นนี่มันชื่ออะไร
เจ้าเห็นชนิดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ตามระบบทวินามว่า Pleurotus eryngii (อ่านว่าอะไรช่างแม่มไปก่อน)
มาดูที่คำว่า eryngii ซึ่งเป็นที่มาขอชื่อที่เราเรียกมันอยู่ทุกวันนี้ว่า ออรินจิ เออริจิ ออริจิน จนไปถึง ออริจินัล ก็มี = ="
"eryngii" สำหรับใครที่ชินกับระบบชื่อทวินาม เห็นปุ๊บคงร้องอ๋อว่าชื่อมันมาจากชื่ออีตา eryng ซึ่งอาจจะเป็นคนค้นพบ หรืออะไรก็แล้วแต่แต่เขาตั้งชื่อใช้เป็นเกียรติ โดยหลักแล้วถ้าเป็นผู้ชายจะเติม ii เข้าไปต่อท้ายชื่อ (ไม่ชัวร์หลักเท่าไหร่ใครเรียนสายนี้รบกวนแก้)
เอาหละ แล้วจะพูดอะไรละเนี่ยลืม....
เห็นชนิดนี้เป็นเห็นที่มีถิ่นกำเนิดที่ยุโรป ดูจากชื่อ eryng (อ่านว่าไรวะ) ซึ่งหาๆ ดูพบว่าเป็นชื่อคนอิตาลี่ (?) บลา ๆ
สรุปที่จะพูดคือ จะเรียกมันว่าอะไรก็เรียกไปเหอะ แต่ไอ เอรินหงิ เนี่ยไม่ใช่ชื่อจริงๆ ของมันอยู่ดี ถ้าอยากจะออกเสียงถูกต้องตามหลักจริงๆ คงต้องไปดูหลักวิธีการอ่านชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งมีอยู่แต่ลืมไปละ คร่าว ๆ น่าจะประมาณ "เอรินจิอาย" (ทำเสียงดัดๆ หน่อย) แต่เพื่อการสื่อสารให้รู้เรื่องเวลาสั่งอาหารก็เรียกไปตามภาษาบ้านๆ เราแหละครับ ออรินจิ เออรินจิ ออริจิน ไรก็ว่าไปตามแต่จะคุยกับพ่อครัว แม่ครัวรู้เรื่อง
สวัสดี
ปล. วรรค g ในภาษาญี่ปุ่นมันออกเสียง "ง" หรอฟระ ?
ัby Alrescha
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แต่ผมก็ได้ลองค้นดู ก็ได้พบว่า
มันน่าจะมีที่มาต่างออกไป และออกเสียงในภาษาต่างๆได้ดังนี้ครับ
๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙
ชื่อ specific epitet ของ Pleurotus eryngii (DC.) Quél. 1872 เขาไม่ได้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติต่อบุคคล หรือคณะบุคคลใดนะครับ
หากแต่ specific epitet หมายถึง เห็ดสกุล Pleurptus ชนิดหนึ่ง ที่ชอบขึ้น ที่รากต้น eryngo หรือ sea holly ซึ่งจัดอยู่ในสกุล Eryngium L. ซึ่งมี eryngii เป็นรูป Singular genitive ของ eryngium ซึ่งเป็นละติน หมายถึง ต้น Sea holly ซึ่งภาษาละตินยุครุ่งเรือง ( ēryngĭon ) รับมาจาก ภาษากรีกโบราณ (ἠρύγγιον) / อีกทอดหนึ่ง
(ἠρύγγιον) > Ancient Greek / ɛː. ryŋ.ɡi.on /
( ēryngĭon ) >Classical Latin / eː ˈryŋ.ɡɪ.ɔn /
eryngii > Modern Botanical Latin (Continental)/ eː ˈryŋ.ɡɪ.i / or (Anglicised)/ iː ˈriŋ.ɡɪ.ai /
エリンギ > (romanzi) eringi > Standard Japanese / e . ɾiŋ͡.i /
ออรินจิ > Siamese / ʔɔː 1. rin 1 ˈ ʨiʔ 2 /
เอริงงิ > Siamese / ʔeː 1. riŋ 1 ˈ ŋiʔ 4 /
เอริงหงิ > Siamese / ʔeː 1. riŋ 1 ˈ ŋiʔ 2 /
เอรินหงิ > Siamese / ʔeː 1. rin 1 ˈ ŋiʔ 2 /
copyright 2016 Prapanth Iamwiriyakul
๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙
จึงใคร่เรียนสอบถามว่า จริงๆ แล้วคนไทย ใช้ คำไหนเรียกชื่อเห็ดชนิดนี้ครับ