ผมคงไม่ต้องไปอ้าง พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 หรอกครับ
ทั้งที่จริง มันเป็นเรื่องที่ว่าด้วยเจตนารมณ์ และ หลักสําคัญ ของการใช้กฏหมายทางปกครอง
ที่ควรนํามาพิจารณาก่อนเป็นลําดับแรก
ซึ่ง ในมาตรา.4 ของกฏหมายนี้ มันก็ชัดเจนอยู่แล้วว่า มิให้ใช้บังคับแก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี
หากไม่ดึงดันเกินไป มันก็ควรจะจบลงแค่นี้
แต่เมื่อคุณ วิษณุ ยังไม่จบ กลับพยายามเอาผิดกับคุณ ยิ่งลักษณ์ ให้ได้
และไปหยิบยกเอา พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาใช้บังคับ
โดยไม่ไปดูว่ามันขัดกับ กฏหมายตัวพ่อ คือ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 หรือไม่
ผมก็ขอเรียนชี้แจงดังนี้
เริ่มแรกคุณ วิษณุ ไปหยิบยกเอา มาตรา 8 และ มาตรา 10 ของ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มาใช้บังคับ
มาตรา8 โดยสรุป
คือกรณีที่เจ้าหน้าที่ ไปทําละเมิดบุคคลภายนอก และหน่วยงานที่เจ้าหน้าคนนั้นสังกัดอยู่ จะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ถูกละเมิด
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ก็ให้อํานาจหน่วยงานนั้นๆ
สามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนคืนจากเจ้าหน้าที่ภายหลัง หากการละเมิดนั้นเกิดจาก ความประมาทเลนเล่อ อย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่
มาตรา10 โดยสรุป
ก็คล้ายๆกัน กับ มาตรา8 เพียงแต่เป็นกรณีที่ เจ้าหน้าที่ เป็นผู้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานเสียเอง ไม่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก
แต่เมื่อคํานิยามความหมาย ของ
" เจ้าหน้าที่ " ตามมาตรา8 และ มาตรา10 มีคนแย้ง
ว่า....เจ้าหน้าที่
ตามความหมายนี้ หมายถึง
เจ้าหน้าที่ ที่สังกัดหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่า จะเป็นกระทรวง ทบวง กรม
รัฐวิสาหกิจ ( ตามกฏหมายเฉพาะ ) หรือ หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา
ไม่ได้เกี่ยวกับตําเหน่งนายกรัฐมนตรี แต่อย่างใด
คุณ วิษณุ ยังคงไหลลื่น ไปเกาะเกี่ยวยัง มาตรา 5 ต่ออีก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ตรงที่ว่า (ตามมาตรา5)
" ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป้นหน่วยงานของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง
" ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
นี่แหละครับที่คุณ วิษณุ อาจคิดว่าคือแสงสว่างริบหรี่ที่ปลายอุโมงค์ ที่สามารถฟ้องทางละเมิดต่อ คุณยิ่งลักษณ์ได้
ทั้งที่จริง มันไม่เป็นอย่างนั้น
จริงอยู่แม้เป็น
" เจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ถึงอย่างไร ก็ต้องเป็นหน่วยงาน
ที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาตาม พ.ร.บ. หรือ พระราชกฏษฎีกา อยู่ดี
เพียงแต่มีลักษณะพิเศษคือ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ถูกจัดตั้งขึ้น โดยมิให้สังกัดในส่วนราขการใดๆ
หน่วยงานเหล่านี้.........อาทิเช่น
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักมรัพย์
สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
หน่วยงานอื่นๆ หรือ องค์กรอิสระ ที่มีสถานะเป็นหน่วยงานรัฐ แต่ไม่ได้สังกัด กระทรวง ทบวง กรม หรือ รัฐวิสาหกิจใดๆ
นี่แหละครับ คือความหมายตาม มาตรา5 ที่ว่า " เจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ตามเจตนารมณ์ หรือ ความหมายที่แท้จริง ของมาตรานี้
จะไปโมเม แบบศีรธนณชัย รวบเอาตําเหน่งนายกรัฐมนตรี เข้าไปในนิยามความหมายนี้ คงไม่ได้
เพราะตําเหน่งนายก ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. หรือ พระราชกฏษฎีก อย่างที่กล่าวมา
ไม่ว่าจะหยิบยก วิ
ธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
หรือ
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
กฏหมายทั้งสองบับ ก็นํามาใช้กับตําเหน่งนายก ที่เป็นผู้นําสูงสุดของฝ่ายบริหารไม่ได้อยู่ดี
เรื่องนี้.....พอเถอะครับคุณ วิษณุ มันไปไม่ได้แล้วจริงๆ
--------------------------
💢💢💢........บอกตรงๆผมเริ่มเชื่อแล้วว่าคุณ วิษณุ คือ ศรีธนณชัย กลับชาติมาเกิด
ทั้งที่จริง มันเป็นเรื่องที่ว่าด้วยเจตนารมณ์ และ หลักสําคัญ ของการใช้กฏหมายทางปกครอง
ที่ควรนํามาพิจารณาก่อนเป็นลําดับแรก
ซึ่ง ในมาตรา.4 ของกฏหมายนี้ มันก็ชัดเจนอยู่แล้วว่า มิให้ใช้บังคับแก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี
หากไม่ดึงดันเกินไป มันก็ควรจะจบลงแค่นี้
แต่เมื่อคุณ วิษณุ ยังไม่จบ กลับพยายามเอาผิดกับคุณ ยิ่งลักษณ์ ให้ได้
และไปหยิบยกเอา พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาใช้บังคับ
โดยไม่ไปดูว่ามันขัดกับ กฏหมายตัวพ่อ คือ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 หรือไม่
ผมก็ขอเรียนชี้แจงดังนี้
เริ่มแรกคุณ วิษณุ ไปหยิบยกเอา มาตรา 8 และ มาตรา 10 ของ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มาใช้บังคับ
มาตรา8 โดยสรุป
คือกรณีที่เจ้าหน้าที่ ไปทําละเมิดบุคคลภายนอก และหน่วยงานที่เจ้าหน้าคนนั้นสังกัดอยู่ จะต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ถูกละเมิด
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ก็ให้อํานาจหน่วยงานนั้นๆ
สามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนคืนจากเจ้าหน้าที่ภายหลัง หากการละเมิดนั้นเกิดจาก ความประมาทเลนเล่อ อย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่
มาตรา10 โดยสรุป
ก็คล้ายๆกัน กับ มาตรา8 เพียงแต่เป็นกรณีที่ เจ้าหน้าที่ เป็นผู้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานเสียเอง ไม่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก
แต่เมื่อคํานิยามความหมาย ของ " เจ้าหน้าที่ " ตามมาตรา8 และ มาตรา10 มีคนแย้ง
ว่า....เจ้าหน้าที่
ตามความหมายนี้ หมายถึง เจ้าหน้าที่ ที่สังกัดหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่า จะเป็นกระทรวง ทบวง กรม
รัฐวิสาหกิจ ( ตามกฏหมายเฉพาะ ) หรือ หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา
ไม่ได้เกี่ยวกับตําเหน่งนายกรัฐมนตรี แต่อย่างใด
คุณ วิษณุ ยังคงไหลลื่น ไปเกาะเกี่ยวยัง มาตรา 5 ต่ออีก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ตรงที่ว่า (ตามมาตรา5) " ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป้นหน่วยงานของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง
" ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
นี่แหละครับที่คุณ วิษณุ อาจคิดว่าคือแสงสว่างริบหรี่ที่ปลายอุโมงค์ ที่สามารถฟ้องทางละเมิดต่อ คุณยิ่งลักษณ์ได้
ทั้งที่จริง มันไม่เป็นอย่างนั้น
จริงอยู่แม้เป็น " เจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ถึงอย่างไร ก็ต้องเป็นหน่วยงาน ที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาตาม พ.ร.บ. หรือ พระราชกฏษฎีกา อยู่ดี
เพียงแต่มีลักษณะพิเศษคือ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ถูกจัดตั้งขึ้น โดยมิให้สังกัดในส่วนราขการใดๆ
หน่วยงานเหล่านี้.........อาทิเช่น
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักมรัพย์
สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
หน่วยงานอื่นๆ หรือ องค์กรอิสระ ที่มีสถานะเป็นหน่วยงานรัฐ แต่ไม่ได้สังกัด กระทรวง ทบวง กรม หรือ รัฐวิสาหกิจใดๆ
นี่แหละครับ คือความหมายตาม มาตรา5 ที่ว่า " เจ้าหน้าที่รัฐที่ไม่ได้สังกัด หน่วยงานของรัฐแห่งใด "
ตามเจตนารมณ์ หรือ ความหมายที่แท้จริง ของมาตรานี้
จะไปโมเม แบบศีรธนณชัย รวบเอาตําเหน่งนายกรัฐมนตรี เข้าไปในนิยามความหมายนี้ คงไม่ได้
เพราะตําเหน่งนายก ไม่ได้จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. หรือ พระราชกฏษฎีก อย่างที่กล่าวมา
ไม่ว่าจะหยิบยก วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
หรือ
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
กฏหมายทั้งสองบับ ก็นํามาใช้กับตําเหน่งนายก ที่เป็นผู้นําสูงสุดของฝ่ายบริหารไม่ได้อยู่ดี
เรื่องนี้.....พอเถอะครับคุณ วิษณุ มันไปไม่ได้แล้วจริงๆ
--------------------------