อํานาจทางปกครอง ตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
สามารถบังคับใช้กับเจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสหกิจ ไม่ว่า
1. ส่วนราชการ
2. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายเฉพาะ
3. หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา
จะเห็นว่า นายกรัฐมนตรี คุณยิ่งลักษณ์ขณะนั้น ไม่ได้สังกัด ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายเฉพาะ
หรือ หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา แต่อย่างใด
แต่คุณ วิษณุ ยังมิวายเถต่อไป ( จากการให้สัมภาษณ์ )
โดยนํามาตรา 5 ของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 มากล่าวอ้าง
ตามวรรคสองที่ว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทําในการปฏิบัติหน้าที่
ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานของรัฐ
ที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานของรัฐ
ที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึง
แล้วมาตีความประหนึ่งเสมือนว่า นายกรัฐมนตรีรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ( ขณะนั้น )เป็นเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด
ที่กฏหมายเปิดช่อง ให้สามารถนํามาตรานี้มาบังคับใช้ได้
ที่จริงเจตนารมณ์ของกฎหมาย มาตรา 5 วรรคสอง หากไปดูดีๆ เจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด
ต้องหมายความถึง
เจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐ โดยหน่วยงานนั้นๆมีสถานะเป็นหน่วยงานอิสระ
( ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องตัวบุคคล หรือ ตัวนายก หรือ คณะรัฐมนตรี อย่างที่คุณวิษณุเข้าใจ )
หน่วยงาน ที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐ แต่มีสถานะเป็นหน่วยงานอิสระ ตามความหมายนี้
อาทิเช่น
....สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
....สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
....หรือ.... ธนาคารแห่งประเทศไทย
เพิ่มเติม........
http://www.oic.go.th/ginfo/page1.asp?i=006
เจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานอิสระ ไม่สังกัดรัฐ เหล่านี้เท่านั้นที่จะนํามาตรา 5 มาบังคับใช้ได้
ไม่เกี่ยวกับตัวบุคคล หรือ ตัวนายกรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐมนตรี แต่อย่างใด
ชัดเจนมั้ยครับ
ที่นี้ผมจะดูว่า คุณ วิษณุ จะแถต่อด้วยเรื่องอะไรอีก
------------------------------
👽👽...ผมอยากรู้จริงๆว่า หลังจากนี้ คุณวิษณุ จะเถยังไงอีก
สามารถบังคับใช้กับเจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสหกิจ ไม่ว่า
1. ส่วนราชการ
2. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายเฉพาะ
3. หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา
จะเห็นว่า นายกรัฐมนตรี คุณยิ่งลักษณ์ขณะนั้น ไม่ได้สังกัด ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายเฉพาะ
หรือ หน่วยงานอื่นตามพระราชกฤษฎีกา แต่อย่างใด
แต่คุณ วิษณุ ยังมิวายเถต่อไป ( จากการให้สัมภาษณ์ )
โดยนํามาตรา 5 ของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 มากล่าวอ้าง
ตามวรรคสองที่ว่า
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด ให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานของรัฐ
ที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึง
แล้วมาตีความประหนึ่งเสมือนว่า นายกรัฐมนตรีรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ( ขณะนั้น )เป็นเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด
ที่กฏหมายเปิดช่อง ให้สามารถนํามาตรานี้มาบังคับใช้ได้
ที่จริงเจตนารมณ์ของกฎหมาย มาตรา 5 วรรคสอง หากไปดูดีๆ เจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใด
ต้องหมายความถึง
เจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐ โดยหน่วยงานนั้นๆมีสถานะเป็นหน่วยงานอิสระ
( ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องตัวบุคคล หรือ ตัวนายก หรือ คณะรัฐมนตรี อย่างที่คุณวิษณุเข้าใจ )
หน่วยงาน ที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐ แต่มีสถานะเป็นหน่วยงานอิสระ ตามความหมายนี้
อาทิเช่น
....สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
....สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
....หรือ.... ธนาคารแห่งประเทศไทย
เพิ่มเติม........
http://www.oic.go.th/ginfo/page1.asp?i=006
เจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานอิสระ ไม่สังกัดรัฐ เหล่านี้เท่านั้นที่จะนํามาตรา 5 มาบังคับใช้ได้
ไม่เกี่ยวกับตัวบุคคล หรือ ตัวนายกรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐมนตรี แต่อย่างใด
ชัดเจนมั้ยครับ
ที่นี้ผมจะดูว่า คุณ วิษณุ จะแถต่อด้วยเรื่องอะไรอีก
------------------------------