โภชนบำบัด อาหารประเภทโปรตีน ไขมัน วิตามินเร่ธาตุต่างๆจะช่วยรักษาระดับภูมิต้านทานโรคของร่างกาย เพราะอาหารที่มีประโยชน์จะช่วยยีดเวลาเจ็บป่วยจากโรคแทรกซ้อน ทำให้ผู้ติดเชื้อมีโอกาสป่วยช้าลง
• 1. อาหารประเภทโปรตีน เพราะโปรตีนเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเลือด ฮอร์โมน น้ำย่อย ภูมิต้านทานโรค และเอนไซม์ต่างๆ ซึ่งทำให้ร่างกายทำงานได้ตามปกติ มีความแข็งแรง ช่วยต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ และมีประโยชน์ในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย
อาหารประเภทโปรตีน ได้แก่ อาหารพวกเนื้อหมู ไก่ วัว ปลา นมและผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ ถั่วและชนิดต่างๆ เมล็ดพืช
• 2. อาหารประเภทไขมัน เพราะไขมันเป็นแหล่งพลังงาน ช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายได้ในไขมัน (วิตามิน เอ อี ดี และเค) อาหารประเภทไขมัน ได้แก่ น้ำมันชนิดต่างๆ เนย นมและผลิตภัณฑ์จากนม เนื้อสัตว์ ถั่วชนิดต่างๆ โดยเฉพาะถั่วลิสง ถั่วเหลือง
3. อาหารที่มีวิตามินแร่ธาตุชนิดต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
3.1 วิตามินเอ พบมากใน ตับไก่ ตับหมู เครื่องในสัตว์ ปลา มันปูทะเล นม เนย ไข่ (โดยเฉพาะไข่แดง) ส่วนผักสีเขียว เช่น ใบตำลึง (ต้ม, ลวก, แกงจืด) ยอดแค(สด, ลวก, นึ่ง) ยอดกระถิน(สด)ผักโขม (ลวก, นึ่ง) ผักบุ้ง(สด, ลวก, ผัด) ผักคะน้า ผักกาดเขียว ผักกวางตุ้ง (สด, ลวก, ผัด) ต้นหอม (สด, ดอง) ผักเสี้ยน (ดอง) ยอดฟักทอง ใบชะพลู ใบยอ ยอดมะระ ใบบัวบก ยอดชะอม เป็นต้น ส่วยผลไม่สีเหลืองส้ม พบมากใน มะละกอ มะเขือเทศ แครอท ฟักทอง มะม่วงสุก แคนตาลูป เป็นต้น
3.2 วิตามินซี พบมากใน ยอดสะเดา มะระขี้นก ฝรั่ง บร็อคโคลี่ ดอกขี้เหล้ก มะขามป้อม มะกอกไทย มะปรางดิบ ฝักมะรุม พริกชี้ฟ้าเขียวแดง เมล้ดขนุน
3.3 วิตามินบี 1 พบมากในเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ข้าวซ้อมมือ รำข้าว เมล็ดธัญพืช (เช่นลูกเดือย) งา ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดขนุนต้ม
3.4 วิตามินบี 2 พบมากใน นมและผลิตภัณฑ์จากนม เนย ไข่ ถั่วชนิดต่างๆ ยีสต์ เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียว เมล็ดธัญพืช
3.5 วิตามินบี 6 พบมากใน เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ รำข้าว ข้าวกล้อง เมล็ดธัญพืช ถั่วชนิดต่างๆ นม ไข่แดง ผักใบเขียว กล้วย เป็นต้น
3.6 วิตามินบี 12 พบมากใน เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ นม ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดธัญพืช
3.7 วิตามินอี พบมากใน น้ำมันพืช ไข่แดง ถั่วชนิดต่างๆ ผักใบเขียว จมูกข้าว
3.8 กรดโฟลิค พบมากในตับ ยีสต์ เนื้อสัตว์ ถั่วชนิดต่างๆ ผักใบเขียว ส้ม แคนตาลูป บร็อคโคลี่ กุยช่าย กึ่นฉ่าย หัวผักกาด เป็นต้น
3.9 เซเลเนียม พบมากใน อาหารทะเล เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ ไข่แดง นม เมล็ดธัญพืช เป็นต้น
3.10 สังกะสี พบมากใน อาหารทะเล หอย ตับ ไข่แดง เมล็ดธัญพืช เป็นต้น
3.11 ทองแดง พบมากใน ตับ หอย เมล็ดธัญพืช ถั่ว ผักใบเขียว เป็นต้น
3.12 เหล็ก พบมากใน ตับ เนื้อสัตว์ นม ไข่แดง ซีเรียล ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดธัญพืช ผักใบเขียว
ผักโขม มันฝรั่ง รากผักปวยเล้ง บร็อคโคลี่ เป็นต้น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มกำลังใจ
Report : LIV Capsule
อาหารที่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีควรบริโภค
• 1. อาหารประเภทโปรตีน เพราะโปรตีนเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเลือด ฮอร์โมน น้ำย่อย ภูมิต้านทานโรค และเอนไซม์ต่างๆ ซึ่งทำให้ร่างกายทำงานได้ตามปกติ มีความแข็งแรง ช่วยต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ และมีประโยชน์ในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย
อาหารประเภทโปรตีน ได้แก่ อาหารพวกเนื้อหมู ไก่ วัว ปลา นมและผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ ถั่วและชนิดต่างๆ เมล็ดพืช
• 2. อาหารประเภทไขมัน เพราะไขมันเป็นแหล่งพลังงาน ช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายได้ในไขมัน (วิตามิน เอ อี ดี และเค) อาหารประเภทไขมัน ได้แก่ น้ำมันชนิดต่างๆ เนย นมและผลิตภัณฑ์จากนม เนื้อสัตว์ ถั่วชนิดต่างๆ โดยเฉพาะถั่วลิสง ถั่วเหลือง
3. อาหารที่มีวิตามินแร่ธาตุชนิดต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
3.1 วิตามินเอ พบมากใน ตับไก่ ตับหมู เครื่องในสัตว์ ปลา มันปูทะเล นม เนย ไข่ (โดยเฉพาะไข่แดง) ส่วนผักสีเขียว เช่น ใบตำลึง (ต้ม, ลวก, แกงจืด) ยอดแค(สด, ลวก, นึ่ง) ยอดกระถิน(สด)ผักโขม (ลวก, นึ่ง) ผักบุ้ง(สด, ลวก, ผัด) ผักคะน้า ผักกาดเขียว ผักกวางตุ้ง (สด, ลวก, ผัด) ต้นหอม (สด, ดอง) ผักเสี้ยน (ดอง) ยอดฟักทอง ใบชะพลู ใบยอ ยอดมะระ ใบบัวบก ยอดชะอม เป็นต้น ส่วยผลไม่สีเหลืองส้ม พบมากใน มะละกอ มะเขือเทศ แครอท ฟักทอง มะม่วงสุก แคนตาลูป เป็นต้น
3.2 วิตามินซี พบมากใน ยอดสะเดา มะระขี้นก ฝรั่ง บร็อคโคลี่ ดอกขี้เหล้ก มะขามป้อม มะกอกไทย มะปรางดิบ ฝักมะรุม พริกชี้ฟ้าเขียวแดง เมล้ดขนุน
3.3 วิตามินบี 1 พบมากในเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ข้าวซ้อมมือ รำข้าว เมล็ดธัญพืช (เช่นลูกเดือย) งา ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดขนุนต้ม
3.4 วิตามินบี 2 พบมากใน นมและผลิตภัณฑ์จากนม เนย ไข่ ถั่วชนิดต่างๆ ยีสต์ เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียว เมล็ดธัญพืช
3.5 วิตามินบี 6 พบมากใน เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ รำข้าว ข้าวกล้อง เมล็ดธัญพืช ถั่วชนิดต่างๆ นม ไข่แดง ผักใบเขียว กล้วย เป็นต้น
3.6 วิตามินบี 12 พบมากใน เนื้อสัตว์ ปลา ไข่ นม ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดธัญพืช
3.7 วิตามินอี พบมากใน น้ำมันพืช ไข่แดง ถั่วชนิดต่างๆ ผักใบเขียว จมูกข้าว
3.8 กรดโฟลิค พบมากในตับ ยีสต์ เนื้อสัตว์ ถั่วชนิดต่างๆ ผักใบเขียว ส้ม แคนตาลูป บร็อคโคลี่ กุยช่าย กึ่นฉ่าย หัวผักกาด เป็นต้น
3.9 เซเลเนียม พบมากใน อาหารทะเล เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ ไข่แดง นม เมล็ดธัญพืช เป็นต้น
3.10 สังกะสี พบมากใน อาหารทะเล หอย ตับ ไข่แดง เมล็ดธัญพืช เป็นต้น
3.11 ทองแดง พบมากใน ตับ หอย เมล็ดธัญพืช ถั่ว ผักใบเขียว เป็นต้น
3.12 เหล็ก พบมากใน ตับ เนื้อสัตว์ นม ไข่แดง ซีเรียล ถั่วชนิดต่างๆ เมล็ดธัญพืช ผักใบเขียว
ผักโขม มันฝรั่ง รากผักปวยเล้ง บร็อคโคลี่ เป็นต้น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มกำลังใจ
Report : LIV Capsule