พุทธะ เป็นความหมายที่ถูก กล่าวถึงอย่างมาก
พุทธะ แปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
การกล่าวถึงว่า "จิตเดิม" คือพุทธะ
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิด อวิชชา ถามว่า จิตเดิม รู้อะไร หรือ ไม่รู้อะไร
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิดอวิชชา ถามว่า จิตเดิม ตื่นจากอะไร
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิดอวิชชา ถามว่า จิตเดิม เบิกบานจากอะไร
รวมความ จิต เดิม เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จากอะไร
พุทธะ ความหมายตามพระบาลี หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วย ปัญญารู้แจ้ง ทำลาย อวิชชา ได้อย่างสิ้นเชิง
ซึ่ง สภาวะธรรม ปัญญารู้แจ้ง ทำลายอวิชชาได้นี้ คือ สภาวะพุทธะ ที่กล่าวไว้ในพระบาลีอย่างชัดเจน
และ ต่างกับจิตเดิม อย่างแน่นอน เพราะจิตเดิม ไม่มี สภาวะธรรมปัญญารู้แจ้ง ทำลาย อวิชชาได้ ดังนั้น จิตเดิม จึงเกิดอวิชชาได้
และ พุทธะ กับ จิตเดิม โดยสภาวะธรรมที่เรียกว่า ปัญญารู้แจ้งแล้ว แตกต่างกันอย่างแน่นอน
สภาวะพุทธะ ในเถรวาทที่ถูกกล่าวถึงคือ
พระสัมมาสัม
พุทธเจ้า
พระปัจเจก
พุทธเจ้า
พระอนุ
พุทธเจ้า หรือพระอรหันต์สาวก
จากบุคคลที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่า พุทธะ ในความหมายในบุคคลทั้งสาม คือ บุคคลที่ท่านเข้าสู่ สภาวะนิพพานแล้ว
ดังความ หมายของ พุทธะ ในเถรวาท คือ นิพพาน
ซึ่ง พุทธะในความหมายของ นิพพาน มีความแตกต่างจาก พุทธะ ในจิตเดิม อย่างแน่นอน เรื่อง ปัญญารู้แจ้ง
สุญตา โดยทั่วไป หมายความว่า ความว่าง
ความว่าง มีหลายระดับ ความว่างที่เกิดจาก 1.ความว่างที่เกิดจาก กิเลส คือ ความว่างที่เราปรุงแต่งให้มันว่าง คือเราอยากให้มันว่าง
2.ความว่าง ที่เรา ไม่อยากได้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง และปล่อยให้มัน ว่าง ความไม่อยากได้ ก็เป็น
กิเลส อีกประเภทหนึ่ง เหมื่อนกัน
ความว่าง ที่แท้จริง เป็นความว่างที่เกิดจาก ปัญญารู้แจ้ง เป็นความว่างที่ต้องแสวงหา
ความจริงแท้ ที่เป็น ปัจจัตต้ง หากันเอาเอง และไม่สามารถพูดได้ว่า ความว่าง หรือ สุญตา
ในความหมายคือคำว่า วางเปล่า ไม่มีอะไร เพราะ มรรค ซึ่งก็ไม่สามารถ พูดได้ว่า สูญ หรือ
ว่างเปล่าเพราะมรรคท่านก็มีเป็นปกติ แต่ก็ไม่สามารถพูดว่า
มี ได้ เพราะ สภาวะของ
มรรค ไม่ได้เกิดจากปรุงแต่ง และก็พูดคำว่า
ไม่มี ก็ไม่ได้เพราะ มรรค ก็ปรากฏอยู่
ดังนั้นจะเห็นว่า หลักพุทธเถรวาท นั้นถูกต้องตรง ตามคำสอน ไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะ นำแนวทางอื่น ที่ ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ไม่ชัดเจน
มาปะปน กับแนว ทางพุทธเถรวาท
เราชาวพุทธเถรวาท ถือว่าโชคดีมากที่ได้เกิดมาพบพุทธเถรวาท
พุทธะ , สุญตา ความหมายที่ต้องพิจารณา?
พุทธะ แปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
การกล่าวถึงว่า "จิตเดิม" คือพุทธะ
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิด อวิชชา ถามว่า จิตเดิม รู้อะไร หรือ ไม่รู้อะไร
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิดอวิชชา ถามว่า จิตเดิม ตื่นจากอะไร
จิตเดิม ที่ยังไม่เกิดอวิชชา ถามว่า จิตเดิม เบิกบานจากอะไร
รวมความ จิต เดิม เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จากอะไร
พุทธะ ความหมายตามพระบาลี หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วย ปัญญารู้แจ้ง ทำลาย อวิชชา ได้อย่างสิ้นเชิง
ซึ่ง สภาวะธรรม ปัญญารู้แจ้ง ทำลายอวิชชาได้นี้ คือ สภาวะพุทธะ ที่กล่าวไว้ในพระบาลีอย่างชัดเจน
และ ต่างกับจิตเดิม อย่างแน่นอน เพราะจิตเดิม ไม่มี สภาวะธรรมปัญญารู้แจ้ง ทำลาย อวิชชาได้ ดังนั้น จิตเดิม จึงเกิดอวิชชาได้
และ พุทธะ กับ จิตเดิม โดยสภาวะธรรมที่เรียกว่า ปัญญารู้แจ้งแล้ว แตกต่างกันอย่างแน่นอน
สภาวะพุทธะ ในเถรวาทที่ถูกกล่าวถึงคือ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระปัจเจกพุทธเจ้า
พระอนุพุทธเจ้า หรือพระอรหันต์สาวก
จากบุคคลที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่า พุทธะ ในความหมายในบุคคลทั้งสาม คือ บุคคลที่ท่านเข้าสู่ สภาวะนิพพานแล้ว
ดังความ หมายของ พุทธะ ในเถรวาท คือ นิพพาน
ซึ่ง พุทธะในความหมายของ นิพพาน มีความแตกต่างจาก พุทธะ ในจิตเดิม อย่างแน่นอน เรื่อง ปัญญารู้แจ้ง
สุญตา โดยทั่วไป หมายความว่า ความว่าง
ความว่าง มีหลายระดับ ความว่างที่เกิดจาก 1.ความว่างที่เกิดจาก กิเลส คือ ความว่างที่เราปรุงแต่งให้มันว่าง คือเราอยากให้มันว่าง
2.ความว่าง ที่เรา ไม่อยากได้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง และปล่อยให้มัน ว่าง ความไม่อยากได้ ก็เป็น
กิเลส อีกประเภทหนึ่ง เหมื่อนกัน
ความว่าง ที่แท้จริง เป็นความว่างที่เกิดจาก ปัญญารู้แจ้ง เป็นความว่างที่ต้องแสวงหา
ความจริงแท้ ที่เป็น ปัจจัตต้ง หากันเอาเอง และไม่สามารถพูดได้ว่า ความว่าง หรือ สุญตา
ในความหมายคือคำว่า วางเปล่า ไม่มีอะไร เพราะ มรรค ซึ่งก็ไม่สามารถ พูดได้ว่า สูญ หรือ
ว่างเปล่าเพราะมรรคท่านก็มีเป็นปกติ แต่ก็ไม่สามารถพูดว่า มี ได้ เพราะ สภาวะของ
มรรค ไม่ได้เกิดจากปรุงแต่ง และก็พูดคำว่า ไม่มี ก็ไม่ได้เพราะ มรรค ก็ปรากฏอยู่
ดังนั้นจะเห็นว่า หลักพุทธเถรวาท นั้นถูกต้องตรง ตามคำสอน ไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะ นำแนวทางอื่น ที่ ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ไม่ชัดเจน
มาปะปน กับแนว ทางพุทธเถรวาท
เราชาวพุทธเถรวาท ถือว่าโชคดีมากที่ได้เกิดมาพบพุทธเถรวาท