จีน : ลงทุนรถไฟทางคู่ “กรุงเทพฯ-หนองคาย”?
Status : เซ็น MOU แล้ว สรุปดอกเบี้ยในตอนนี้คือ 2%
เส้นรถไฟฟ้าทางคู่ Standard Gauge กว้าง 1.435 แบ่งเป็น 4 ช่วง วิ่งได้สูงสุด 180 กม./ชม.ระยะทางทั้งหมด 873 กม. ได้แก่
1. กรุงเทพฯ-แก่งคอย 133 กม. เป็นเส้นทางที่สร้างง่าย เพราะเป็นทางราบ ไม่ต้องเวนคืนมาก
2. แก่งคอย-มาบตาพุด 264.5 กม. เป็นพื้นที่อุทยาน ต้องเวนคืนเยอะ น่าจะทำช้า
3. แก่งคอย-นครราชสีมา 139 กม. เป็นเส้นทางที่ต้องเจาะทะลุภูเขา สร้างยากและช้าเช่นกัน ต้องเวนคืนกว้าง 20 เมตรของแนวเส้นทางเพื่อเจาะอุโมงค์ ซึ่งบริเวณนี้ปัจจุบันเป็นพื้นที่ประทานบัตรผู้ประกอบการปูน 4 บริษัท อาทิ ปูนซิเมนต์ไทย ปูนทีพีไอ ปูนนครหลวง
4. นครราชสีมา-หนองคาย 355 กม.อยู่ระหว่างศึกษาโครงการ โดยรวมเส้นทางจะสร้างคู่ขนานแนวรถไฟเดิม ยกเว้นบางช่วงที่ปรับรัศมีโค้งให้มีเหมาะสมกับความเร็วรถไฟซึ่งต้องเวนคืนที่ดินมาก
- 1,2 รวมเป็น 1 สัญญา เริ่มสร้าง 1 ตค. 2558 เสร็จ ธค. 2560 (2ปี 6 เดือน)
- 3,4 รวมเป็น 1 สัญญา เริ่มสร้าง Q1 2559 ตอนนี้กำลังสำรวจพื้นที่ (ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี)
- เส้นกรุงเทพฯ-หนองคายนี้เป็นเส้นทางเก่า มีการศึกษาไว้แล้ว
- ลงนามใน MOU เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2557 (มีผลตั้งแต่วันลงนามไปอีก 5 ปี)
- จีนรับผิดชอบก่อสร้างและจัดหาเงินทุน (อาจกู้จากธนาคารในจีน) สำรวจงานออกแบบ
- ไทยรับผิดชอบเวบคืนพื้นที่ + ประเมิน EIA
- การประเมินราคาอย่างละเอียดจะจัดทำร่วมกัน
- จีนจะได้ประโยชน์ในเชิงการขนส่งสินค้าออกทางทะเล ได้เพิ่มอีก 1 เส้นทาง
- มีการตั้งคณะกรรมการบริหารร่วม ไทย-จีน
- ค่าสร้างเฉลี่ย 330 ลบ./กม.รวมประมาณ 2 แสนกว่าล้าน (ตัวเลขเบื้องต้น)
- ช่วงแก่งคอย-มาบตาพุด จะสร้างคู่ขนานกับทางคู่สายแก่งคอย-คลอง 19-ฉะเชิงเทรา 106 กม. ที่ร.ฟ.ท.กำลังประมูลก่อสร้าง เวนคืน 119 ไร่ ย่านสถานีชุมทางฉะเชิงเทรา ชุมทางบ้านภาชี ชุมทางแก่งคอย และสร้างอุโมงค์ 1 แห่ง ช่วงเขาพระพุทธฉาย 736 เมตร
- ภายใน เม.ย. จะลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อกำหนดรายละเอียดของโครงการทั้งออกแบบสำรวจ+ค่าใช้จ่าย
- ในส่วนของดอกเบี้ยเงิน สรุปร่วมกันว่าจะอยู่ที่ 2% ซึ่งไทยจะไม่กู้จากจีนทั้งหมด แต่จะใช้เงินกู้ในประเทศด้วย
Image : Prachachat Online (28 Jan 2015)
ญี่ปุ่น : เลือกลงทุนรถไฟทางคู่ 1 เส้นทาง?
Status : ไทยลงนามใน MOI* และ MOC** ญี่ปุ่นยืนยันว่าจะลงทุนทำอย่างน้อย 1 เส้นทาง
MOI คือ บันทึกแสดงเจตจำนง ความร่วมมือในการพัฒนาระบบรางระหว่างกระทรวงคมนาคมไทย-ญี่ปุ่น
MOC คือ บันทึกความร่วมมือในการส่งเสริมการทำธุรกิจและการลงทุนของไทยในญี่ปุ่น เพื่อผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน โดยจะเป็นการศึกษาและพัฒนา 3 เส้นทางเร่งด่วนในไทย
เส้นรถไฟฟ้าทางคู่ Standard Gauge กว้าง 1.435 วิ่งได้สูงสุด 180 กม./ชม. แบ่งเป็น 3 เส้นทาง ระยะทางทั้งหมด 1,762 กม.ได้แก่
1. อ.พุน้ำร้อน กาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา-อรัญประเทศ และ ฉะเชิงเทรา-มาบตาพุด 339 กม. (ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก)
2. กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ 653 กม.
3. อ.แม่สอด ตาก-มุกดาหาร 770 กม.
- 1,2 เป็นเส้นทางที่เคยศึกษาไว้แล้ว ส่วน 3 เป็นเส้นทางใหม่ยังไม่เคยมีการศึกษา
- ญี่ปุ่นไม่ได้ประโยชน์โดยตรงจากเส้นทางดังกล่าว เพราะฉะนั้นอาจคาดหวังกำไรจากการลงทุนมากกว่าจีน
- เส้นทางกาญจนบุรี สามารถเชื่อมไปสู่ท่าเรือทวายได้ ซึ่งเป็น Deep sea port project ที่ริเริ่มมานาน ญี่ปุ่นได้รับการชักชวนให้เป็น third party (ไทย-กัมพูชา) เข้าร่วม project นี้ด้วย
- การพัฒนารถไฟทางคู่ทั้ง 2 ประเทศแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี)
- มีการจัดตั้งคณะทำงานระดับปลัดกระทรวง + ระดับรัฐมนตรี เพื่อหารือรายละเอียดการออกแบบและชนิดของเทคโนโลยีที่จะรองรับรถไฟ
Image : NOW26 (14 Jan 2015)
Image : Manager Online (10 Oct 2014)
Info : Matichon Online (29 Jan 2015), Thairath (17 Feb 2015) & Prachachat Online (23 Feb 2015)
http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/
อนาคตรถไฟไทยจะอยู่ในมือใคร?
จีน : ลงทุนรถไฟทางคู่ “กรุงเทพฯ-หนองคาย”?
Status : เซ็น MOU แล้ว สรุปดอกเบี้ยในตอนนี้คือ 2%
เส้นรถไฟฟ้าทางคู่ Standard Gauge กว้าง 1.435 แบ่งเป็น 4 ช่วง วิ่งได้สูงสุด 180 กม./ชม.ระยะทางทั้งหมด 873 กม. ได้แก่
1. กรุงเทพฯ-แก่งคอย 133 กม. เป็นเส้นทางที่สร้างง่าย เพราะเป็นทางราบ ไม่ต้องเวนคืนมาก
2. แก่งคอย-มาบตาพุด 264.5 กม. เป็นพื้นที่อุทยาน ต้องเวนคืนเยอะ น่าจะทำช้า
3. แก่งคอย-นครราชสีมา 139 กม. เป็นเส้นทางที่ต้องเจาะทะลุภูเขา สร้างยากและช้าเช่นกัน ต้องเวนคืนกว้าง 20 เมตรของแนวเส้นทางเพื่อเจาะอุโมงค์ ซึ่งบริเวณนี้ปัจจุบันเป็นพื้นที่ประทานบัตรผู้ประกอบการปูน 4 บริษัท อาทิ ปูนซิเมนต์ไทย ปูนทีพีไอ ปูนนครหลวง
4. นครราชสีมา-หนองคาย 355 กม.อยู่ระหว่างศึกษาโครงการ โดยรวมเส้นทางจะสร้างคู่ขนานแนวรถไฟเดิม ยกเว้นบางช่วงที่ปรับรัศมีโค้งให้มีเหมาะสมกับความเร็วรถไฟซึ่งต้องเวนคืนที่ดินมาก
- 1,2 รวมเป็น 1 สัญญา เริ่มสร้าง 1 ตค. 2558 เสร็จ ธค. 2560 (2ปี 6 เดือน)
- 3,4 รวมเป็น 1 สัญญา เริ่มสร้าง Q1 2559 ตอนนี้กำลังสำรวจพื้นที่ (ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี)
- เส้นกรุงเทพฯ-หนองคายนี้เป็นเส้นทางเก่า มีการศึกษาไว้แล้ว
- ลงนามใน MOU เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2557 (มีผลตั้งแต่วันลงนามไปอีก 5 ปี)
- จีนรับผิดชอบก่อสร้างและจัดหาเงินทุน (อาจกู้จากธนาคารในจีน) สำรวจงานออกแบบ
- ไทยรับผิดชอบเวบคืนพื้นที่ + ประเมิน EIA
- การประเมินราคาอย่างละเอียดจะจัดทำร่วมกัน
- จีนจะได้ประโยชน์ในเชิงการขนส่งสินค้าออกทางทะเล ได้เพิ่มอีก 1 เส้นทาง
- มีการตั้งคณะกรรมการบริหารร่วม ไทย-จีน
- ค่าสร้างเฉลี่ย 330 ลบ./กม.รวมประมาณ 2 แสนกว่าล้าน (ตัวเลขเบื้องต้น)
- ช่วงแก่งคอย-มาบตาพุด จะสร้างคู่ขนานกับทางคู่สายแก่งคอย-คลอง 19-ฉะเชิงเทรา 106 กม. ที่ร.ฟ.ท.กำลังประมูลก่อสร้าง เวนคืน 119 ไร่ ย่านสถานีชุมทางฉะเชิงเทรา ชุมทางบ้านภาชี ชุมทางแก่งคอย และสร้างอุโมงค์ 1 แห่ง ช่วงเขาพระพุทธฉาย 736 เมตร
- ภายใน เม.ย. จะลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อกำหนดรายละเอียดของโครงการทั้งออกแบบสำรวจ+ค่าใช้จ่าย
- ในส่วนของดอกเบี้ยเงิน สรุปร่วมกันว่าจะอยู่ที่ 2% ซึ่งไทยจะไม่กู้จากจีนทั้งหมด แต่จะใช้เงินกู้ในประเทศด้วย
Image : Prachachat Online (28 Jan 2015)
ญี่ปุ่น : เลือกลงทุนรถไฟทางคู่ 1 เส้นทาง?
Status : ไทยลงนามใน MOI* และ MOC** ญี่ปุ่นยืนยันว่าจะลงทุนทำอย่างน้อย 1 เส้นทาง
MOI คือ บันทึกแสดงเจตจำนง ความร่วมมือในการพัฒนาระบบรางระหว่างกระทรวงคมนาคมไทย-ญี่ปุ่น
MOC คือ บันทึกความร่วมมือในการส่งเสริมการทำธุรกิจและการลงทุนของไทยในญี่ปุ่น เพื่อผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน โดยจะเป็นการศึกษาและพัฒนา 3 เส้นทางเร่งด่วนในไทย
เส้นรถไฟฟ้าทางคู่ Standard Gauge กว้าง 1.435 วิ่งได้สูงสุด 180 กม./ชม. แบ่งเป็น 3 เส้นทาง ระยะทางทั้งหมด 1,762 กม.ได้แก่
1. อ.พุน้ำร้อน กาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา-อรัญประเทศ และ ฉะเชิงเทรา-มาบตาพุด 339 กม. (ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก)
2. กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ 653 กม.
3. อ.แม่สอด ตาก-มุกดาหาร 770 กม.
- 1,2 เป็นเส้นทางที่เคยศึกษาไว้แล้ว ส่วน 3 เป็นเส้นทางใหม่ยังไม่เคยมีการศึกษา
- ญี่ปุ่นไม่ได้ประโยชน์โดยตรงจากเส้นทางดังกล่าว เพราะฉะนั้นอาจคาดหวังกำไรจากการลงทุนมากกว่าจีน
- เส้นทางกาญจนบุรี สามารถเชื่อมไปสู่ท่าเรือทวายได้ ซึ่งเป็น Deep sea port project ที่ริเริ่มมานาน ญี่ปุ่นได้รับการชักชวนให้เป็น third party (ไทย-กัมพูชา) เข้าร่วม project นี้ด้วย
- การพัฒนารถไฟทางคู่ทั้ง 2 ประเทศแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี)
- มีการจัดตั้งคณะทำงานระดับปลัดกระทรวง + ระดับรัฐมนตรี เพื่อหารือรายละเอียดการออกแบบและชนิดของเทคโนโลยีที่จะรองรับรถไฟ
Image : NOW26 (14 Jan 2015)Image : Manager Online (10 Oct 2014)
Info : Matichon Online (29 Jan 2015), Thairath (17 Feb 2015) & Prachachat Online (23 Feb 2015)
http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/