การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา กษัตริย์ฝรั่งเศสทรงพยายามรวบรวมอำนาจการปกครองซึ่งแต่
เดิมกระจัดกระจายอยู่กับเจ้าผู้ครองนครตามระบอบศักดินาสวามิภักดิ์มาเป็นของพระองค์ ใน
คริสต์ศตวรรษที่ 15-17 สถาบันกษัตริย์มีอำนาจและความมั่นคงมากขึ้น โดยเฉพาะในรัชสมัย
ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV ค.ศ. 1643-1715) เนื่องจากพระองค์ทรงสามารถควบคุม
อำนาจและบทบาททางการเมืองของชนชั้นอภิสิทธิ์ซึ่งได้แก่ พวกพระและขุนนางไว้ได้ ระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์จึงกลายเป็นระบอบการปกครองที่มีอำนาจอย่างเด็ดขาดในฝรั่งเศส จนมี
คำกล่าวว่า กษัตริย์คือรัฐ และที่มาแห่งอำนาจทั้งปวง
ภายใต้อำนาจอันล้นพ้นของกษัตริย์ฝรั่งเศสมี สภาฐานันดร (les états généraux : Estates General)
ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับรัฐสภาของอังกฤษ คอยช่วยในการบริหารประเทศ สมาชิกของสภาฐานันดรประกอบด้วย
ตัวแทนของฐานันดรที่หนึ่งและฐานันดรที่สอง ซึ่งได้แก่ชนชั้นอภิสิทธิ์ คือ พวกพระ ขุนนาง และเจ้า และฐานัน
ดรที่สามซึ่งได้แก่ สามัญชนทั่วไป ปกติสภาฐานันดรจะเปิดประชุมกันต่อเมื่อกษัตริย์ทรงมีพระราชประสงค์จะ
ปรึกษาหารือ หรือให้ช่วยตัดสินวิกฤตการณ์ทางการเมือง สังคม หรือปัญหาสำคัญๆของประเทศ แต่ภายหลัง
จากที่กษัตริย์ทรงควบคุมอำนาจการปกครองไว้ได้ สภาฐานันดรก็มีบทบาททางการเมืองน้อยมาก และไม่เคยเปิด
ประชุมมาเป็นเวลานานกว่า 150 ปี อนึ่ง สภาฐานันดรของฝรั่งเศสไม่อาจถือเป็นสถาบันตัวแทนของปวงชนได้ เนื่อง
จากชนชั้นอภิสิทธิ์สามารถควบคุมและรักษาผลประโยชน์ของพวกตนไว้ ทั้งนี้เพราะการนับคะแนนเสียงจะถือว่าแต่
ละฐานันดรมีคะแนนเสียงหนึ่งเสียง ฐานันดรที่หนึ่งและฐานันดรที่สองจึงมักรวมตัวกันเป็นฝ่ายชนะฐานันดรที่สามด้วย
คะแนนเสียงสองต่อหนึ่งอยู่เสมอ ข้อเรียกร้องทางการเมืองและสังคมของสามัญชนหรือฐานันดรที่สาม จึงมักถูกปฏิเสธ
และได้รับการเพิกเฉย
สาเหตุของการปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
ปัญหาด้านการเมือง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอำนาจเด็ดขาดในการบริหารประเทศจึงเปิดโอกาสให้คณะ
บุคคลบางกลุ่มเข้ามามีสิทธิร่วมในการบริหารประเทศ
2.1.2 สภาท้องถิ่น (Provincial Estates) เป็นสภาที่มีอยู่ทั่วไปในฝรั่งเศส และตกอยู่ภายใต้อำนาจอิทธิ
พลของขุนนางท้องถิ่น เริ่มกลับเข้ามามีบทบาทอีกครั้ง
2.1.3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรือศาลสูงสุดของฝรั่งเศส ทำหน้าที่ให้การปรึกษากับกษัตริย์มีสิทธิ์
ยังยั้งการออกกฎหมายใหม่ (Vito) ซึ่งเป็นสภาที่เป็นปากเป็นเสียงของประชนเคยถูกปิดไปแล้ว กลับเข้ามา
มีอำนาจอีกครั้ง พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงยอมให้สภาปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบางอย่าง
ทางการเมือง
2.1.4 สภาฐานันดรหรือสภาทั่วไป (Estates General) ที่จัดตั่งขึ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้าฟิลลิที่ 4 เพื่อต่อ
ต้านอำนาจของสันตะปาปา ซึ่งมีผลทำให้เกิดชนชั้นของประชาชน 3 ชนชั้นคือ พระ ขุนนาง และสามัญชน, ใน
ปี ค.ศ. 1789 สถานะทางด้านการคลังของประเทศเกิดปัญหาขาดดุลอย่างหนัง ทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เปิด
สภานี้ขึ้นมาใหม่หลังจากจากที่ถูกปิดไปถึง 174 ปี เพื่อขอเสียงสนับสนุนจากตัวแทนของประชาชนในการขอ
เก็บภาษีเพิ่มขึ้น แต่เกิดปัญหาการนับคะแนนเสียงขึ้น จนกลายเป็นชนวนที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1789
2.1.5 ประเทศฝรั่งเศสไม่มีรัฐธรรมนูญ ทำให้การปกครองเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และประชาชนไม่ได้รับการคุ้มครอง
2.1.6 ความเสื่อมโทรมของระบอบการปกครองแบบเก่า กษัตริย์ฝรั่งเศสในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ-
ราชย์ ทรงมีพระราชอำนาจเป็นล้นพ้นไม่มีขอบเขตจำกัดและทรงอยู่เหนือกฎหมายของบ้านเมืองโดยเฉพาะใน
รัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 มีหลายครั้งที่ทรงใช้อำนาจโดยไม่ฟังเสียงประชาชน ทรงไม่สนพระทัยการบริหาร
บ้านเมือง อีกทั้งยังทรงอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระนางมารี อังตัวเนตต์ (Marie Antoinette) พระราชินี ซึ่งทรงนิยม
ใช้จ่ายในพระราชสำนักอย่างฟุ่มเฟือย
ปัญหาทางเศรษฐกิจ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้2.2.1 ฝรั่งเศสกำลังประสบภาวะฝืดเคืองทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากการใช้จ่ายเพื่อการทำสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะในสงครามประกาศอิสรภาพของชาวอเมริกัน ระหว่าง ค.ศ.1776 – 1781 เพื่อสนับสนุนให้ชาวอาณานิคมอเมริกาต่อสู้กับอังกฤษ
ด้วยสาเหตุดังกล่าว รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 (Louis XVI, ค.ศ. 1776-1792) จึงมีนโยบายจะเก็บภาษีอากรจากประชาชนเพื่อชดเชยรายจ่ายที่ต้องสูญเสียไป จึงสร้างความไม่พอใจแก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ
2.2.2 สืบเนื่องมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ทรงใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยในราชสำนัก เป็นปัญหาสั่งสมมาจนถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
2.2.3 เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมมาสู่ภาคอุตสาหกรรม ทำให้เกิดวิกฤตการทางการเกษตร ราคาอาหารสูงขึ้นไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดชนชั้นใหม่ขึ้นมา คือชนชั้นกลาง (พ่อค้า นายทุน) ซึ่งมีส่วนสำคัญในการปฏิวัติ
2.2.4 พระเจ้าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้จ่ายในราชสำนักได้ แต่ก็พยายามแก้ไขโดย
– ปรับปรุงการเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อให้เกิดการไม่พอใจในกลุ่มคนบางกลุ่มที่ไม่เคยเสียภาษี
– เพิ่มการกู้เงิน ซึ่งก็ช่วยทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ก็ต้องจ่ายค่าดอกเบี้ยมากขึ้นด้วยเช่นกัน
– ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี้ยบำนาญ ลดจำนวนค่าราชการ ซึ่งทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ ยังส่งผลถึงการทำงานของราชการไม่มีประสิทธิภาพ
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไม่เป็นผลสำเร็จ เนื่องจากแก้ไขที่ไม่ตรงจุด จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นลงไปได้
ปัญหาด้านสังคม
2.3.1 ความเหลื่อมทางสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชั้น โดยฐานะของผู้คนในสังคม
มีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ ชนชั้นอภิสิทธิ์และชนชั้นสามัญชน แต่ในทางปฏิบัติทางการจะแบ่งฐานะของพล
เมืองออกเป็น 3 ชนชั้นหรือ 3 ฐานันดร ( Estates ) ได้แก่
ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสตศาสนามีประมาณ 115,000 คน ยังแบงเปนกลุมยอยอีก 2 กลุมคือ
1. นักบวชชั้นสูง เชน มุขนายก คารดินัล พวกนี้จะใชชีวิตอยางหรูหรา
2. นักบวชชั้นต่ำ ไดแกนักบวชทั่วไป มีฐานะใกลเคียงกับชนชั้นใตปกครอง โดยมากมีชีวิตคอนขาง
แรนแคน
ฐานันดรที่ 2 คือ ขุนนางและชนชั้นสูง มีประมาณ 400,000 คน แบงเปนกลุมยอย 3 กลุมคือ
1. ขุนนางโดยเชื้อสาย (La noblesse d’épée) สืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางตางๆ
2. ขุนนางรุนใหม (La noblesse de robe) ไดรับตําแหนงจากการรับใชพระมหากษัตริย มักจะมี ความกระตือ
รือรนที่จะไดรับการยอมรับจากสังคมเทาขุนนางพวกแรก
3. ขุนนางทองถิ่น (La noblesse de province) มีฐานะไม่ดีเท่า ขุนนางสองประเภทแรกไมได มักจะ โจมตีชน
ชั้นปกครองพวกอื่นเรื่องการเอาเปรียบสังคม
ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชนสวนใหญเปนชาวนาที่ยากจนรวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เชน พอคา ชางฝมือและปญญา
ชน เป็นต้น มีประมาณ 25.5 ลานคนในสมัยนั้น
ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสต์ศาสนา และฐานันดรที่ 2 คืน ขุนนางและชนชั้นสูง ทั้งสองฐานันดรเป็น
ชนชั้นอภิสิทธิ์ มีจำนวนประมาณร้อยละ 2 ของจำนวนประชากรทั้งหมด มีชีวิตความเป็นอยู่สะดวกสบายและหรูหรา ไม่ต้องเสียภาษี
ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชน ส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝีมือ และปัญญาชน ฯลฯ
สาเหตุปัจจุบันของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
เมื่อ ประเทศฝรั่งเศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามารถแก้ปัญหาได้ รัฐบาลตองการแกไข
ปญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจโดยเก็บภาษีอากรที่ดินจากพลเมืองทุกฐานันดร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 จึงทรง
เปิดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การเปดประชุมสภาฐานันดร
ซึ่งประกอบดวยผูแทนของฐานันดรทั้ง 3 ฐานันดร เ
กิดความขัดแยงจากการประชุมสภาฐานันดร เนื่องจากผู
แทนของแตละฐานันดรถูกจัดใหแยกสถานที่ประชุมทําใหฐานันดรที่ 3 (จํานวน 610 คน) ไมพอใจและเรียก
รองใหเปดประชุมรวมกันทําใหการประชุมลาชาไปหลายสัปดาหเพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชน
ทุกกลุ่มช่วยกันแก้ไขปัญหาทางการคลัง แต่ได้เกิดปัญหาขึ้นเพราะกลุ่มฐานันดรที่ 3 เรียกร้องให้นับคะแนนเสียง
เป็นรายหัว แต่กลุ่มฐานันดรที่ 1 และ 2 ซึ่งได้ร่วมมือกันเสมอนั้น เสนอให้นับคะแนนเสียงแบบกลุ่ม จึงทำให้กลุ่ม
ฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้วจัดตั้ง สภาแห่งชาติ (National Assombly)
ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส (Tennis Court Oath) และ
ร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ใน
การปกครองประเทศในขณะเดียวกันกับ
ความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารีส และได้ขยายตัวออกไปทั่ว
ประเทศ ฝูงชนชาวปารีสได้รับข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กำลังจะส่งกำลังทหารเข้ามาปราบปรามความฝูงชน
ที่ก่อวุ่นวายในปารีสดังนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทำลายคุกบาสตีล (Bastille)
ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
เหตุการณ์การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
การเปิดประชุมรัฐสภา ที่ไม่ได้เปิดประชุมตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1614 เมื่อรัฐบาลต้องการแก้ไขปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจ
โดยเก็บภาษีอากรที่ดินจากพลเมืองทุกฐานันดร จึงต้องเรียกประชุมรัฐสภา ที่เรียกว่า “สภาฐานันดรแห่งชาติ”
(les états généraux : Estates General ) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของฐานันดรทั้ง 3 ฐานันดร ได้มีการประชุมที่
พระราชวังแวร์ซายส์ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 ก
ารประชุมครั้งนี้ใช้ระบบลงคะแนนคือ 1 ฐานันดรต่อ 1 เสียง
ซึ่งไม่ยุติธรรม เพราะฐานันดรที่สามซึ่งมีจำนวนถึง 90% ของประชากรกลับได้คะแนนเสียงเพียง 1 ใน 3 ของสภา และ
วิธีการลงคะแนนนี้จะทำให้ฐานันดรที่สามไม่มีทางมีเสียงเหนือกว่า 2 ฐานันดรแรก โดยเสนอให้ลงคะแนนแบบ 1 คน 1
เสียงแทน เมื่อข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธ ทำให้ตัวแทนฐานันดรที่ 3 ไม่พอใจเป็นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม และไปตั้ง
สภาของตนเองเรียกว่า สมัชชาแห่งชาติ (Assemblée Nationale : National Assembly) ซึ่งเปิดประชุมเมื่อวันที่ 17
มิถุนายน ปีเดียวกัน สภานี้ยังมีตัวแทนจากฐานันดรที่ 1, 2 บางส่วนเข้าร่วมประชุมด้วย ได้แก่ตัวแทนส่วนใหญ่ของชนชั้น
นักบวช และตัวแทนที่เป็นขุนนางหัวสมัยใหม่นำโดยมิราโบ (Honoré Mirabeau)
ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส (Tennis Court Oath) และร่วมสาบาน
ว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ในการปกครองประเทศ
วันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 Camille Desmoulins กล่าวสุนทรพจน์ ใน gardens of the Palais Royale กระตุ้นให้ชาวปารีสจับอาวุธ
เหตุการณ์บุกทลายคุกบาสตีล (Bastille) เมื่อมีข่าวว่ารัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เตรียมใช้กำลังทหารเข้าสลายการประชุม
สมัชชาแห่งชาติ ประชาชนชาวกรุงปารีสจึงลุกฮือขึ้นจับอาวุธเพื่อสนับสนุนกลุ่มสมัชชาแห่งชาติ และบุกเข้าทำลายคุกบาสตีล
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และเป็นสัญลักษณ์แห่งการกดขี่ของการปกครอง
ระบอบเก่าความสำคัญของการบุกทำลายคุกบาสตีล ถือว่าเป็นเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เพราะ
กษัตริย์ ขุนนาง และชนชั้นสูง ต้องยอมสละอำนาจให้แก่สมัชชาแห่งชาติ และพระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองและการปกครองครั้งนี้
การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 (สำหรับใครที่ชอบ อ่านเรื่องประวัติศาสตร์โลก)
นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา กษัตริย์ฝรั่งเศสทรงพยายามรวบรวมอำนาจการปกครองซึ่งแต่
เดิมกระจัดกระจายอยู่กับเจ้าผู้ครองนครตามระบอบศักดินาสวามิภักดิ์มาเป็นของพระองค์ ใน
คริสต์ศตวรรษที่ 15-17 สถาบันกษัตริย์มีอำนาจและความมั่นคงมากขึ้น โดยเฉพาะในรัชสมัย
ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV ค.ศ. 1643-1715) เนื่องจากพระองค์ทรงสามารถควบคุม
อำนาจและบทบาททางการเมืองของชนชั้นอภิสิทธิ์ซึ่งได้แก่ พวกพระและขุนนางไว้ได้ ระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์จึงกลายเป็นระบอบการปกครองที่มีอำนาจอย่างเด็ดขาดในฝรั่งเศส จนมี
คำกล่าวว่า กษัตริย์คือรัฐ และที่มาแห่งอำนาจทั้งปวง
ภายใต้อำนาจอันล้นพ้นของกษัตริย์ฝรั่งเศสมี สภาฐานันดร (les états généraux : Estates General)
ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับรัฐสภาของอังกฤษ คอยช่วยในการบริหารประเทศ สมาชิกของสภาฐานันดรประกอบด้วย
ตัวแทนของฐานันดรที่หนึ่งและฐานันดรที่สอง ซึ่งได้แก่ชนชั้นอภิสิทธิ์ คือ พวกพระ ขุนนาง และเจ้า และฐานัน
ดรที่สามซึ่งได้แก่ สามัญชนทั่วไป ปกติสภาฐานันดรจะเปิดประชุมกันต่อเมื่อกษัตริย์ทรงมีพระราชประสงค์จะ
ปรึกษาหารือ หรือให้ช่วยตัดสินวิกฤตการณ์ทางการเมือง สังคม หรือปัญหาสำคัญๆของประเทศ แต่ภายหลัง
จากที่กษัตริย์ทรงควบคุมอำนาจการปกครองไว้ได้ สภาฐานันดรก็มีบทบาททางการเมืองน้อยมาก และไม่เคยเปิด
ประชุมมาเป็นเวลานานกว่า 150 ปี อนึ่ง สภาฐานันดรของฝรั่งเศสไม่อาจถือเป็นสถาบันตัวแทนของปวงชนได้ เนื่อง
จากชนชั้นอภิสิทธิ์สามารถควบคุมและรักษาผลประโยชน์ของพวกตนไว้ ทั้งนี้เพราะการนับคะแนนเสียงจะถือว่าแต่
ละฐานันดรมีคะแนนเสียงหนึ่งเสียง ฐานันดรที่หนึ่งและฐานันดรที่สองจึงมักรวมตัวกันเป็นฝ่ายชนะฐานันดรที่สามด้วย
คะแนนเสียงสองต่อหนึ่งอยู่เสมอ ข้อเรียกร้องทางการเมืองและสังคมของสามัญชนหรือฐานันดรที่สาม จึงมักถูกปฏิเสธ
และได้รับการเพิกเฉย
สาเหตุของการปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
ปัญหาด้านการเมือง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปัญหาทางเศรษฐกิจ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปัญหาด้านสังคม
2.3.1 ความเหลื่อมทางสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชั้น โดยฐานะของผู้คนในสังคม
มีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ ชนชั้นอภิสิทธิ์และชนชั้นสามัญชน แต่ในทางปฏิบัติทางการจะแบ่งฐานะของพล
เมืองออกเป็น 3 ชนชั้นหรือ 3 ฐานันดร ( Estates ) ได้แก่
ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสตศาสนามีประมาณ 115,000 คน ยังแบงเปนกลุมยอยอีก 2 กลุมคือ
1. นักบวชชั้นสูง เชน มุขนายก คารดินัล พวกนี้จะใชชีวิตอยางหรูหรา
2. นักบวชชั้นต่ำ ไดแกนักบวชทั่วไป มีฐานะใกลเคียงกับชนชั้นใตปกครอง โดยมากมีชีวิตคอนขาง
แรนแคน
ฐานันดรที่ 2 คือ ขุนนางและชนชั้นสูง มีประมาณ 400,000 คน แบงเปนกลุมยอย 3 กลุมคือ
1. ขุนนางโดยเชื้อสาย (La noblesse d’épée) สืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางตางๆ
2. ขุนนางรุนใหม (La noblesse de robe) ไดรับตําแหนงจากการรับใชพระมหากษัตริย มักจะมี ความกระตือ
รือรนที่จะไดรับการยอมรับจากสังคมเทาขุนนางพวกแรก
3. ขุนนางทองถิ่น (La noblesse de province) มีฐานะไม่ดีเท่า ขุนนางสองประเภทแรกไมได มักจะ โจมตีชน
ชั้นปกครองพวกอื่นเรื่องการเอาเปรียบสังคม
ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชนสวนใหญเปนชาวนาที่ยากจนรวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เชน พอคา ชางฝมือและปญญา
ชน เป็นต้น มีประมาณ 25.5 ลานคนในสมัยนั้น
ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสต์ศาสนา และฐานันดรที่ 2 คืน ขุนนางและชนชั้นสูง ทั้งสองฐานันดรเป็น
ชนชั้นอภิสิทธิ์ มีจำนวนประมาณร้อยละ 2 ของจำนวนประชากรทั้งหมด มีชีวิตความเป็นอยู่สะดวกสบายและหรูหรา ไม่ต้องเสียภาษี
ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชน ส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝีมือ และปัญญาชน ฯลฯ
สาเหตุปัจจุบันของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
เมื่อ ประเทศฝรั่งเศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามารถแก้ปัญหาได้ รัฐบาลตองการแกไข
ปญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจโดยเก็บภาษีอากรที่ดินจากพลเมืองทุกฐานันดร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 จึงทรง
เปิดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การเปดประชุมสภาฐานันดร
ซึ่งประกอบดวยผูแทนของฐานันดรทั้ง 3 ฐานันดร เกิดความขัดแยงจากการประชุมสภาฐานันดร เนื่องจากผู
แทนของแตละฐานันดรถูกจัดใหแยกสถานที่ประชุมทําใหฐานันดรที่ 3 (จํานวน 610 คน) ไมพอใจและเรียก
รองใหเปดประชุมรวมกันทําใหการประชุมลาชาไปหลายสัปดาหเพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชน
ทุกกลุ่มช่วยกันแก้ไขปัญหาทางการคลัง แต่ได้เกิดปัญหาขึ้นเพราะกลุ่มฐานันดรที่ 3 เรียกร้องให้นับคะแนนเสียง
เป็นรายหัว แต่กลุ่มฐานันดรที่ 1 และ 2 ซึ่งได้ร่วมมือกันเสมอนั้น เสนอให้นับคะแนนเสียงแบบกลุ่ม จึงทำให้กลุ่ม
ฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้วจัดตั้ง สภาแห่งชาติ (National Assombly)
ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส (Tennis Court Oath) และ
ร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ใน
การปกครองประเทศในขณะเดียวกันกับ ความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารีส และได้ขยายตัวออกไปทั่ว
ประเทศ ฝูงชนชาวปารีสได้รับข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กำลังจะส่งกำลังทหารเข้ามาปราบปรามความฝูงชน
ที่ก่อวุ่นวายในปารีสดังนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทำลายคุกบาสตีล (Bastille)
ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
เหตุการณ์การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
การเปิดประชุมรัฐสภา ที่ไม่ได้เปิดประชุมตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1614 เมื่อรัฐบาลต้องการแก้ไขปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจ
โดยเก็บภาษีอากรที่ดินจากพลเมืองทุกฐานันดร จึงต้องเรียกประชุมรัฐสภา ที่เรียกว่า “สภาฐานันดรแห่งชาติ”
(les états généraux : Estates General ) ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของฐานันดรทั้ง 3 ฐานันดร ได้มีการประชุมที่
พระราชวังแวร์ซายส์ในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมครั้งนี้ใช้ระบบลงคะแนนคือ 1 ฐานันดรต่อ 1 เสียง
ซึ่งไม่ยุติธรรม เพราะฐานันดรที่สามซึ่งมีจำนวนถึง 90% ของประชากรกลับได้คะแนนเสียงเพียง 1 ใน 3 ของสภา และ
วิธีการลงคะแนนนี้จะทำให้ฐานันดรที่สามไม่มีทางมีเสียงเหนือกว่า 2 ฐานันดรแรก โดยเสนอให้ลงคะแนนแบบ 1 คน 1
เสียงแทน เมื่อข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธ ทำให้ตัวแทนฐานันดรที่ 3 ไม่พอใจเป็นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม และไปตั้ง
สภาของตนเองเรียกว่า สมัชชาแห่งชาติ (Assemblée Nationale : National Assembly) ซึ่งเปิดประชุมเมื่อวันที่ 17
มิถุนายน ปีเดียวกัน สภานี้ยังมีตัวแทนจากฐานันดรที่ 1, 2 บางส่วนเข้าร่วมประชุมด้วย ได้แก่ตัวแทนส่วนใหญ่ของชนชั้น
นักบวช และตัวแทนที่เป็นขุนนางหัวสมัยใหม่นำโดยมิราโบ (Honoré Mirabeau)
ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส (Tennis Court Oath) และร่วมสาบาน
ว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ในการปกครองประเทศ
วันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 Camille Desmoulins กล่าวสุนทรพจน์ ใน gardens of the Palais Royale กระตุ้นให้ชาวปารีสจับอาวุธ
เหตุการณ์บุกทลายคุกบาสตีล (Bastille) เมื่อมีข่าวว่ารัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เตรียมใช้กำลังทหารเข้าสลายการประชุม
สมัชชาแห่งชาติ ประชาชนชาวกรุงปารีสจึงลุกฮือขึ้นจับอาวุธเพื่อสนับสนุนกลุ่มสมัชชาแห่งชาติ และบุกเข้าทำลายคุกบาสตีล
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และเป็นสัญลักษณ์แห่งการกดขี่ของการปกครอง
ระบอบเก่าความสำคัญของการบุกทำลายคุกบาสตีล ถือว่าเป็นเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 เพราะ
กษัตริย์ ขุนนาง และชนชั้นสูง ต้องยอมสละอำนาจให้แก่สมัชชาแห่งชาติ และพระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 ทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองและการปกครองครั้งนี้