๑.) ท่านไม่ทราบหรือว่า ปปช. มีที่มาโดยยังไม่ได้รับการโปรดเกล้าแต่งตั้ง อันเป็นข้อแรกที่สมควรแจ้งความร้องทุกข์ในพฤติกรรมที่ส่อถึงการดำรงตำแหน่งและปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบ? หรือท่านยินยอมรับสถานะภาพ ครับ
๒.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ปปช. ไม่มีกฎหมายรองรับ ที่ให้สามารถสอบสวนคดีก่อนที่จะมีผู้ยื่นคำร้อง อันส่อถึงความผิดทั้งทางอาญาและวินัยในฐานะข้าราชการ? หรือท่านไม่ทราบว่าจะไปแจ้งความดำเนินคดีที่ใด ครับ
๓.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ปปช. มีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงอันไม่มี กฏหมายรองรับ ในการเลือกปฎิบัติหรือปฎิเสธไม่ยอมรับคำชี้แจงและข้อมูลของผู้ถูกสอบเอาไว้พิจารณารวมทั้งไม่มีอยู่ในข้อสรุปในการชี้มูล อันส่อถึงข้อสรุปอันไม่ชอบธรรมตามวิธีพิจารณาสอบสวน? หรือท่านคิดว่าสมควรให้ปล่อยเลยตามเลย ครับ
๔.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ไม่มีกฎหมายใดๆ ในประเทศไทยและทั่วโลกที่สามารถใช้ “สมมุติฐาน” มาใช้ในการพิจารณาคดีความ ฉนั้นการยื่นคำร้องให้พิจารณาถอดถอนไม่ว่าด้วยความผิดในกฎหมายใดๆ มิสามารถกระทำได้ ฉนั้นคำร้องให้พิจารณาถอดถอนของ ปปช. ส่อถึงกรณีความผิดทั้งทางแพ่งและอาญาอันเป็นผลเสียต่อผู้ถูกร้อง รวมทั้งส่อถึงการปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบอีกด้วย? หรือท่านคิดว่าเป็นการกระทำโดยชอบธรรมด้วยประการทั้งปวง ครับ
๕.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ไม่มีกฎบัญญัติใดๆ ที่ให้อำนาจกับสภาสูงหรือกระบวนการยุติธรรม ที่ให้ผู้ที่เป็น “คู่กรณี” สามารถมาเป็นองค์ประกอบในการพิจารณาหรือรับคำร้องของ ปปช. ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้พิจารณาถอดถอนตามกฏหมายหรือบทบัญญัติที่สูญสิ้นสภาพการใช้ลงไปแล้วได้? หรือท่านคิดว่ามีเหตุผลทางกฎหมายหรือบทบัญญัติที่ให้การพิจารณาเป็นไปได้อย่างยุติธรรม ครับ
ในเมื่อท่านในฐานะกลุ่มผู้ปรึกษาทางด้านกฏหมาย ล๊ะเลยต่อสิ่งเหล่านี้และในอีกด้านหนึ่งก็พยายามเรียกร้องความเป็นธรรมต่อสาธารณะชนด้วยการแถลงการต่างๆ ในขณะเดียวกันก็ปล่อยให้ผู้ถูกร้องเข้าสู่กระบวนการพิจารณา อันก็จะไม่ใช่สิ่งที่แปลกถ้าผลการพิจารณาที่อาจไม่เป็นธรรมกับผู้ถูกร้องของท่าน รวมทั้งสาธารณะชนที่ไม่มีอำนาจและหน้าที่ในการให้ความเป็นธรรมก็ไม่สามารถให้ความเป็นธรรมหรือความเห็นใจได้ เพราะผู้ถูกร้องได้ยอมรับสภาพโดยการเข้าร่วมกระบวนการพิจารณานั่นเองท่านเองยังคงมีความจดจำถึงกรณี การพิจารณาคดีของ ศาลรัฐธรรมนูญ ที่อดีตประธานสภาได้นำเอามาเป็นข้อโต้แย้งว่า เป็นการพิจารณาคดีผิดพลาด อันเป็นความจริงที่ระบุเอาไว้ว่า คำพิจารณามีผลบังคับกับทุกองค์กร แต่ถ้าการพิจารณาไม่มีกฎหมายประกอบที่ว่าด้วยการพิจารณารับรองอยู่ ทำให้ผลการพิจารณาไม่ชอบด้วยบทบัญญัติที่ระบุบังคับไว้ เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ไม่สามารถนำเอา ผลบังคับกับทุกองค์กรมาใช้ เพราะการพิจารณานับตั้งแต่ระบุให้มีกฏหมายว่าด้วยวิธีพิจารณา (ทบทวนได้จาก รธน.๕๐) ทุกกรณีหรือคำพิพากษาเป็นโมฆะมาตลอด เพราะจากการยอมรับโดยไม่มีข้อแม้นี่เอง และไปอวดครวญว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมกับสาธารณะชน สร้างความเข้าใจผิดกับกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด อันท่านเองก็มีหน้าที่การงานในระบบเช่นกัน ท่านคิดว่าสมควรแล้วหรือ ครับ
ผมมองด้วยความเศร้าสลด ที่เห็นผู้ถูกร้องทั้งหลายต่าง นอบน้อมขอความยุติธรรมให้กับตัวเองเช่นนี้ โดยไม่มีปฎิกริยาที่จะใช้ สิทธิเรียกร้องชี้ชัดถึง ความเป็นธรรมตามบทบัญญัติและกฎหมายที่ยังมีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์ ในเมื่อสิ่งที่สามารถกระทำได้ด้วยตัวเองไม่ทำลงไปเสียก่อนจะให้ใครล๊ะครับ ทำแทนให้ ท่านกระทำซิครับและแถลงให้สาธารณะชนได้เป็นพยานรู้เห็นก็เพียงพอแล้วที่ท่านและผู้ถูกร้องทั้งหลายจะมีโอกาศให้ได้รับความคุ้มครองในการเรียกร้องความเป็นธรรมโดยปริยาย หรือท่านจะรอให้ทุกอย่างเป็นไปจนถึงที่สุดอันก็เป็นสิทธิเสรีภาพของท่านและผู้ถูกร้องทั้งหลาย แต่ท่านก็ไม่ควรมาขอคะแนนความเห็นใจกับสาธารณะชนและโลกสากลอีกต่อไป ครับ
ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุผลใดก็ตาม สมควรตั้งคำถามกับทีมทนาย ครับ
๒.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ปปช. ไม่มีกฎหมายรองรับ ที่ให้สามารถสอบสวนคดีก่อนที่จะมีผู้ยื่นคำร้อง อันส่อถึงความผิดทั้งทางอาญาและวินัยในฐานะข้าราชการ? หรือท่านไม่ทราบว่าจะไปแจ้งความดำเนินคดีที่ใด ครับ
๓.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ปปช. มีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงอันไม่มี กฏหมายรองรับ ในการเลือกปฎิบัติหรือปฎิเสธไม่ยอมรับคำชี้แจงและข้อมูลของผู้ถูกสอบเอาไว้พิจารณารวมทั้งไม่มีอยู่ในข้อสรุปในการชี้มูล อันส่อถึงข้อสรุปอันไม่ชอบธรรมตามวิธีพิจารณาสอบสวน? หรือท่านคิดว่าสมควรให้ปล่อยเลยตามเลย ครับ
๔.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ไม่มีกฎหมายใดๆ ในประเทศไทยและทั่วโลกที่สามารถใช้ “สมมุติฐาน” มาใช้ในการพิจารณาคดีความ ฉนั้นการยื่นคำร้องให้พิจารณาถอดถอนไม่ว่าด้วยความผิดในกฎหมายใดๆ มิสามารถกระทำได้ ฉนั้นคำร้องให้พิจารณาถอดถอนของ ปปช. ส่อถึงกรณีความผิดทั้งทางแพ่งและอาญาอันเป็นผลเสียต่อผู้ถูกร้อง รวมทั้งส่อถึงการปฎิบัติหน้าที่โดยมิชอบอีกด้วย? หรือท่านคิดว่าเป็นการกระทำโดยชอบธรรมด้วยประการทั้งปวง ครับ
๕.) ท่านทราบหรือไม่ว่า ไม่มีกฎบัญญัติใดๆ ที่ให้อำนาจกับสภาสูงหรือกระบวนการยุติธรรม ที่ให้ผู้ที่เป็น “คู่กรณี” สามารถมาเป็นองค์ประกอบในการพิจารณาหรือรับคำร้องของ ปปช. ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้พิจารณาถอดถอนตามกฏหมายหรือบทบัญญัติที่สูญสิ้นสภาพการใช้ลงไปแล้วได้? หรือท่านคิดว่ามีเหตุผลทางกฎหมายหรือบทบัญญัติที่ให้การพิจารณาเป็นไปได้อย่างยุติธรรม ครับ
ในเมื่อท่านในฐานะกลุ่มผู้ปรึกษาทางด้านกฏหมาย ล๊ะเลยต่อสิ่งเหล่านี้และในอีกด้านหนึ่งก็พยายามเรียกร้องความเป็นธรรมต่อสาธารณะชนด้วยการแถลงการต่างๆ ในขณะเดียวกันก็ปล่อยให้ผู้ถูกร้องเข้าสู่กระบวนการพิจารณา อันก็จะไม่ใช่สิ่งที่แปลกถ้าผลการพิจารณาที่อาจไม่เป็นธรรมกับผู้ถูกร้องของท่าน รวมทั้งสาธารณะชนที่ไม่มีอำนาจและหน้าที่ในการให้ความเป็นธรรมก็ไม่สามารถให้ความเป็นธรรมหรือความเห็นใจได้ เพราะผู้ถูกร้องได้ยอมรับสภาพโดยการเข้าร่วมกระบวนการพิจารณานั่นเองท่านเองยังคงมีความจดจำถึงกรณี การพิจารณาคดีของ ศาลรัฐธรรมนูญ ที่อดีตประธานสภาได้นำเอามาเป็นข้อโต้แย้งว่า เป็นการพิจารณาคดีผิดพลาด อันเป็นความจริงที่ระบุเอาไว้ว่า คำพิจารณามีผลบังคับกับทุกองค์กร แต่ถ้าการพิจารณาไม่มีกฎหมายประกอบที่ว่าด้วยการพิจารณารับรองอยู่ ทำให้ผลการพิจารณาไม่ชอบด้วยบทบัญญัติที่ระบุบังคับไว้ เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ไม่สามารถนำเอา ผลบังคับกับทุกองค์กรมาใช้ เพราะการพิจารณานับตั้งแต่ระบุให้มีกฏหมายว่าด้วยวิธีพิจารณา (ทบทวนได้จาก รธน.๕๐) ทุกกรณีหรือคำพิพากษาเป็นโมฆะมาตลอด เพราะจากการยอมรับโดยไม่มีข้อแม้นี่เอง และไปอวดครวญว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมกับสาธารณะชน สร้างความเข้าใจผิดกับกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด อันท่านเองก็มีหน้าที่การงานในระบบเช่นกัน ท่านคิดว่าสมควรแล้วหรือ ครับ
ผมมองด้วยความเศร้าสลด ที่เห็นผู้ถูกร้องทั้งหลายต่าง นอบน้อมขอความยุติธรรมให้กับตัวเองเช่นนี้ โดยไม่มีปฎิกริยาที่จะใช้ สิทธิเรียกร้องชี้ชัดถึง ความเป็นธรรมตามบทบัญญัติและกฎหมายที่ยังมีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์ ในเมื่อสิ่งที่สามารถกระทำได้ด้วยตัวเองไม่ทำลงไปเสียก่อนจะให้ใครล๊ะครับ ทำแทนให้ ท่านกระทำซิครับและแถลงให้สาธารณะชนได้เป็นพยานรู้เห็นก็เพียงพอแล้วที่ท่านและผู้ถูกร้องทั้งหลายจะมีโอกาศให้ได้รับความคุ้มครองในการเรียกร้องความเป็นธรรมโดยปริยาย หรือท่านจะรอให้ทุกอย่างเป็นไปจนถึงที่สุดอันก็เป็นสิทธิเสรีภาพของท่านและผู้ถูกร้องทั้งหลาย แต่ท่านก็ไม่ควรมาขอคะแนนความเห็นใจกับสาธารณะชนและโลกสากลอีกต่อไป ครับ