ปัญญา แปลว่า ความรู้ทั่ว คือรู้ทั่วถึงเหตุถึงผล รู้อย่างชัดเจน, รู้เรื่องบาปบุญคุณโทษ, รู้สิ่งที่ควรทำควรเว้น เป็นต้น
ปัญญา ทำให้เกิดได้ 3 วิธี คือ
โดยการสดับตรับฟัง การศึกษาเล่าเรียน (สุตมยปัญญา)
โดยการคิดค้น การตรึกตรอง (จินตามยปัญญา)
โดยการอบรมจิต การเจริญภาวนา (ภาวนามยปัญญา)
ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาสำเร็จจากการภาวนา เมื่อบุคคลเจริญซึ่งภาวนาอยู่ย่อม
ได้ซึ่งปัญญาคือความรู้ความเข้าใจตามความเป็นจริงของนามธรรมและรูปธรรม ปัญญา
นี้เป็นภาวนามยปัญญา ในบางแห่ง อธิบายภาวนามยปัญญาว่าเป็นปัญญาของผู้เข้า
สมาบัติ
พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒- หน้าที่ 583
ปัญญาของผู้เข้าสมาบัติแม้ทั้งหมด เรียกว่า ภาวนามยปัญญา.
อธิบายภาวนามยปัญญา
คำว่า สมาปนฺนสฺส (แปลว่า ผู้เข้าสมาบัติ) อธิบายว่า ปัญญา
ในภายในสมาบัติของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสมาบัติ ชื่อว่า ภาวนามยปัญญา
ภาวนามยปัญญา คือ ศักยภาพสูงสุดของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์
รู้ และ เห็น ตามความเป็นจริง โดยมิต้องคิดหรือใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียนในสมอง
tag ชีววิทยาเพราะเป็นเรื่องกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์
ห้องศาสนา ว่าด้วยเรื่องการปฏิบัติภาวนา
ภาวนามยปัญญา ศาสตร์ที่ science ควรศึกษา วิจัย และ ค้นคว้า ในศตวรรษนี้
ปัญญา ทำให้เกิดได้ 3 วิธี คือ
โดยการสดับตรับฟัง การศึกษาเล่าเรียน (สุตมยปัญญา)
โดยการคิดค้น การตรึกตรอง (จินตามยปัญญา)
โดยการอบรมจิต การเจริญภาวนา (ภาวนามยปัญญา)
ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาสำเร็จจากการภาวนา เมื่อบุคคลเจริญซึ่งภาวนาอยู่ย่อม
ได้ซึ่งปัญญาคือความรู้ความเข้าใจตามความเป็นจริงของนามธรรมและรูปธรรม ปัญญา
นี้เป็นภาวนามยปัญญา ในบางแห่ง อธิบายภาวนามยปัญญาว่าเป็นปัญญาของผู้เข้า
สมาบัติ
พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒- หน้าที่ 583
ปัญญาของผู้เข้าสมาบัติแม้ทั้งหมด เรียกว่า ภาวนามยปัญญา.
อธิบายภาวนามยปัญญา
คำว่า สมาปนฺนสฺส (แปลว่า ผู้เข้าสมาบัติ) อธิบายว่า ปัญญา
ในภายในสมาบัติของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสมาบัติ ชื่อว่า ภาวนามยปัญญา
ภาวนามยปัญญา คือ ศักยภาพสูงสุดของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์
รู้ และ เห็น ตามความเป็นจริง โดยมิต้องคิดหรือใช้ภาษาพูดหรือภาษาเขียนในสมอง
tag ชีววิทยาเพราะเป็นเรื่องกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์
ห้องศาสนา ว่าด้วยเรื่องการปฏิบัติภาวนา