[๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ธรรม ๕ ประการนี้
อันบุคคลเจริญ แล้วทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง
เพื่อตรัสรู้ และเพื่อนิพพานโดยส่วนเดียว
ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมพิจารณาเห็นว่าไม่งามในกาย ๑
มีความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูลในอาหาร ๑
มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง ๑
พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง ๑
ย่อมเข้าไปตั้งมรณสัญญาไว้ในภายใน ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯ
--------------------
นิพพิทาสูตร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๑๙๓๒ - ๑๙๔๒. หน้าที่ ๘๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=1932&Z=1942&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=69
เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯ
ธรรม ๕ ประการนี้
อันบุคคลเจริญ แล้วทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง
เพื่อตรัสรู้ และเพื่อนิพพานโดยส่วนเดียว
ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมพิจารณาเห็นว่าไม่งามในกาย ๑
มีความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูลในอาหาร ๑
มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง ๑
พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง ๑
ย่อมเข้าไปตั้งมรณสัญญาไว้ในภายใน ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯ
--------------------
นิพพิทาสูตร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๑๙๓๒ - ๑๙๔๒. หน้าที่ ๘๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=1932&Z=1942&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=69