เป็นประเด็นขึ้นมาเรียกเสียงวิจารณ์ได้ไม่น้อย เมื่อในการประชุมวิชาการของสถาบันพระปกเกล้า หัวข้อ 8 ทศวรรษ ประชาธิปไตย: พลวัตแห่งดุลอำนาจ มีนักวิชาการได้นำเสนอแนวคิด "อภิรัฐมนตรี" ขึ้นมาเป็นดุลอำนาจที่4 ซึ่งทางมติชนออนไลน์ ได้มีโอกาสสัมภาษณ์นักวิชาการเจ้าของแนวคิดดังกล่าว
ดร.สุรพล ศรีวิทยา รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดเผยถึงแนวคิด "สภาอภิรัฐมนตรี" กับมติชนออนไลน์ ว่า ที่มามาจาก มีการกล่าวหาว่า องค์กรอิสระ เป็นอำนาจ ที่3ครึ่ง หรือ อำนาจที่ 4 ซึ่งถ้าไปค้นดูจากรัฐธรรมนูญ ของประเทศจีน ซึ่งดร.ซุน ยัตเซ็น เป็นผู้วางหลักการไว้ ซึ่งไม่ได้แบงแยกอำนาจอธิปไตย เป็น 3 อำนาจแบบ มองเตสกิเออ (Montesquieu)
โดย ประเทศจีน มีมรดก ดั้งเดิม คือ การสอบจอมหงวน และมีระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง ซึ่ง ตนเห็นว่า อำนาจสอบ กับ อำนาจตรวจสอบ เป็นอำนาจเดียวกัน เพราะเมื่อมีตำแหน่งแล้ว ก็ต้องถูกตรวจสอบ
เมื่อเทียบกับ รัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 นั้ ได้ตั้งองค์กรอิสระขึ้นมาเพื่อถ่วงดุลตรวจสอบอยู่แล้ว แต่ถ้าเราไม่มีสถาบันการเมือง ที่เป็นสังกัดขององค์กรอิสระ องค์กรอิสระ ก็จะกระจายไม่เข้มแข็ง จึงเห็นว่า สภาอภิรัฐมนตรี เป็น มรดกเก่าของ รัชกาลที่ 7 ซึ่งถือว่าอันนี้จะเป็นสภาการแผ่นดินสูงสุด ในกรณีก็จะนำมาประยุกต์ใช้เป็นศูนย์รวมองค์กรอิสระ
ที่มา และโครงสราง ประกอบด้วย ส่วนกลาง 23 คน มาจากตัวแทนฝ่ายนิติบัญญัติ 5 คน อาทิ ประธานรัฐสภา ,รองประธานสภา และผู้นำฝ่ายค้าน ตัวแทนฝ่ายบริหาร มี 5 คน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรี 4 คน ตัวแทนฝ่ายตุลาการ คือประธานศาลทั้ง 5 องค์กร ส่วนที่เหลืออีก 8 คน มาจากหัวหน้าองค์กรอิสระทั้งหมด ขณะที่ส่วนท้องถิ่น ให้มีตัวแทนมาได้ 22 คน กระจายไปทั่วประเทศ
ส่วนอำนาจหน้าที่ ของ สภาอภิรัฐมนตรี มี 2 ด้าน คือ มีอำนาจสอบเข้ารับราชการ โดยดึง กพ. กับ กพร. มาเป็น คณะกรรมการราชการแผ่นดินแห่งชาติ ขึ้นมาเป็นองค์กรอิสระใหม่ เพื่อป้องกันการซื้อขายตำแหน่ง หรือ การโยกย้ายข้าราชการโดยการแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง
ขณะที่องค์กรอิสระที่เหลือก็จะเป็นอำนาจตรวจสอบ ส่วนในเรื่องของการถอดถอน สภาอภิรัฐมนตรี จะทำหน้าที่กึ่งตุลาการ โดยทั้งกระบวนการยื่นถอดถอน ศาลรัฐธรรมนูญ ป.ป.ช. และรัฐสภา สามารถยื่นสำนวน มาให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิจารณา ส่วนการถอดถอนออกจากตำแหน่ง ก็จะเป็นอำนาจของ "สภาอภิรัฐมนตรี"
///////
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1415453409
เอิ่มมมมตกลง เราต้องไปพึ่ง แนวทางของจีน "ดร.ซุน ยัตเซ็น เป็นผู้วางหลักการไว้ "หราาาาาาคร่าาาาาาาา แถมย้อนหลังไปสมัยร. 7 โอ้...... ดีไม่ถอยไปถึงจิ่นซี หรือพ่อขุน บร๊ะเจ้า แถมอภิมหึมนตรี เนี่ยอำนาจเยอะเฟ้ออออออ เปนทั้งฝ่ายป้องกัน ตรวจสอบ กึ่งตุลาการ จะกึ่งทายมายยยยยย เปนหน. ปายยยยยยเรยยยยย จบๆๆๆๆปายคร่าาาจารย์
เปิดแนวคิด "สภาอภิรัฐมนตรี" อำนาจอธิปไตยที่4 ศูนย์รวมองค์กรอิสระ....มติชนออนไลน์ ... doraken
ดร.สุรพล ศรีวิทยา รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดเผยถึงแนวคิด "สภาอภิรัฐมนตรี" กับมติชนออนไลน์ ว่า ที่มามาจาก มีการกล่าวหาว่า องค์กรอิสระ เป็นอำนาจ ที่3ครึ่ง หรือ อำนาจที่ 4 ซึ่งถ้าไปค้นดูจากรัฐธรรมนูญ ของประเทศจีน ซึ่งดร.ซุน ยัตเซ็น เป็นผู้วางหลักการไว้ ซึ่งไม่ได้แบงแยกอำนาจอธิปไตย เป็น 3 อำนาจแบบ มองเตสกิเออ (Montesquieu)
โดย ประเทศจีน มีมรดก ดั้งเดิม คือ การสอบจอมหงวน และมีระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง ซึ่ง ตนเห็นว่า อำนาจสอบ กับ อำนาจตรวจสอบ เป็นอำนาจเดียวกัน เพราะเมื่อมีตำแหน่งแล้ว ก็ต้องถูกตรวจสอบ
เมื่อเทียบกับ รัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 นั้ ได้ตั้งองค์กรอิสระขึ้นมาเพื่อถ่วงดุลตรวจสอบอยู่แล้ว แต่ถ้าเราไม่มีสถาบันการเมือง ที่เป็นสังกัดขององค์กรอิสระ องค์กรอิสระ ก็จะกระจายไม่เข้มแข็ง จึงเห็นว่า สภาอภิรัฐมนตรี เป็น มรดกเก่าของ รัชกาลที่ 7 ซึ่งถือว่าอันนี้จะเป็นสภาการแผ่นดินสูงสุด ในกรณีก็จะนำมาประยุกต์ใช้เป็นศูนย์รวมองค์กรอิสระ
ที่มา และโครงสราง ประกอบด้วย ส่วนกลาง 23 คน มาจากตัวแทนฝ่ายนิติบัญญัติ 5 คน อาทิ ประธานรัฐสภา ,รองประธานสภา และผู้นำฝ่ายค้าน ตัวแทนฝ่ายบริหาร มี 5 คน ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรี 4 คน ตัวแทนฝ่ายตุลาการ คือประธานศาลทั้ง 5 องค์กร ส่วนที่เหลืออีก 8 คน มาจากหัวหน้าองค์กรอิสระทั้งหมด ขณะที่ส่วนท้องถิ่น ให้มีตัวแทนมาได้ 22 คน กระจายไปทั่วประเทศ
ส่วนอำนาจหน้าที่ ของ สภาอภิรัฐมนตรี มี 2 ด้าน คือ มีอำนาจสอบเข้ารับราชการ โดยดึง กพ. กับ กพร. มาเป็น คณะกรรมการราชการแผ่นดินแห่งชาติ ขึ้นมาเป็นองค์กรอิสระใหม่ เพื่อป้องกันการซื้อขายตำแหน่ง หรือ การโยกย้ายข้าราชการโดยการแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง
ขณะที่องค์กรอิสระที่เหลือก็จะเป็นอำนาจตรวจสอบ ส่วนในเรื่องของการถอดถอน สภาอภิรัฐมนตรี จะทำหน้าที่กึ่งตุลาการ โดยทั้งกระบวนการยื่นถอดถอน ศาลรัฐธรรมนูญ ป.ป.ช. และรัฐสภา สามารถยื่นสำนวน มาให้ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิจารณา ส่วนการถอดถอนออกจากตำแหน่ง ก็จะเป็นอำนาจของ "สภาอภิรัฐมนตรี"
///////
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1415453409
เอิ่มมมมตกลง เราต้องไปพึ่ง แนวทางของจีน "ดร.ซุน ยัตเซ็น เป็นผู้วางหลักการไว้ "หราาาาาาคร่าาาาาาาา แถมย้อนหลังไปสมัยร. 7 โอ้...... ดีไม่ถอยไปถึงจิ่นซี หรือพ่อขุน บร๊ะเจ้า แถมอภิมหึมนตรี เนี่ยอำนาจเยอะเฟ้ออออออ เปนทั้งฝ่ายป้องกัน ตรวจสอบ กึ่งตุลาการ จะกึ่งทายมายยยยยย เปนหน. ปายยยยยยเรยยยยย จบๆๆๆๆปายคร่าาาจารย์