สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 7
เรียกว่า เกิดความสลดสังเวช ใน ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ หรือ ใน วัฏฏทุกข์
โดยอาการที่เห็นว่า เป็น โทษ หรือ เป็นภัย หรือ เป็นของน่าเบื่อหน่าย
การเกิดความเบื่อเช่นนี้ อาจจะมีอาการท้อถอย ด้วย ถีนมิทธะ
เข้าแทรกบ้าง ก็เป็นได้ ถ้าไม่มีการพิจารณาโดยแยบคาย
แต่ถ้าเป็น ธรรมสังเวช ด้วย กุศล ด้วย ปัญญา เป็นวัฏฏสงสาร โดยเห็นว่าเป็นของน่าเบื่อหน่าย
และมีการพิจารณาโดยแยบคาย มีสติ และกุศลวิริยะเกิดขึ้น อย่างนี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี
ไม่ถือว่าเป็นนิวรณ์ หรือเป็นอกุศล
ความเบื่อหน่ายสลดใจ ในลักษณะนี้ จะรู้สึกคล้ายๆ กับว่า มีความเศร้าเบื่อหน่ายบ้าง
แต่เป็นสิ่งที่เกิดจาก ปัญญา พิจารณาเห็นโทษภัยของวัฏฏสงสาร
ทำให้เกิดความคลาย สละออก จากความยึดมั่น (Let it go)
ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐานเบื้องสูง ก็มีปัญญาในลักษณะนี้เกิดขึ้นเช่นกัน
แต่เป็นในระดับละเอียดยิ่งๆขึ้นไปอีก เช่น อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ
ทำให้เกิด ปฏินิสสัคคะ การสละออก การคลาย การวางลง ในความยึดมั่นในรูปนามได้ในที่สุด
โดยอาการที่เห็นว่า เป็น โทษ หรือ เป็นภัย หรือ เป็นของน่าเบื่อหน่าย
การเกิดความเบื่อเช่นนี้ อาจจะมีอาการท้อถอย ด้วย ถีนมิทธะ
เข้าแทรกบ้าง ก็เป็นได้ ถ้าไม่มีการพิจารณาโดยแยบคาย
แต่ถ้าเป็น ธรรมสังเวช ด้วย กุศล ด้วย ปัญญา เป็นวัฏฏสงสาร โดยเห็นว่าเป็นของน่าเบื่อหน่าย
และมีการพิจารณาโดยแยบคาย มีสติ และกุศลวิริยะเกิดขึ้น อย่างนี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี
ไม่ถือว่าเป็นนิวรณ์ หรือเป็นอกุศล
ความเบื่อหน่ายสลดใจ ในลักษณะนี้ จะรู้สึกคล้ายๆ กับว่า มีความเศร้าเบื่อหน่ายบ้าง
แต่เป็นสิ่งที่เกิดจาก ปัญญา พิจารณาเห็นโทษภัยของวัฏฏสงสาร
ทำให้เกิดความคลาย สละออก จากความยึดมั่น (Let it go)
ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐานเบื้องสูง ก็มีปัญญาในลักษณะนี้เกิดขึ้นเช่นกัน
แต่เป็นในระดับละเอียดยิ่งๆขึ้นไปอีก เช่น อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ
ทำให้เกิด ปฏินิสสัคคะ การสละออก การคลาย การวางลง ในความยึดมั่นในรูปนามได้ในที่สุด
ความคิดเห็นที่ 13
สุดท้ายนี้ มีพระสูตรที่น่าสนใจมานำเสนอครับ
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๙. นิพพิทาสูตร
[๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท
เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ และเพื่อนิพพานโดยส่วนเดียว
ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นว่าไม่งามในกาย ๑
มีความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูลในอาหาร ๑
มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง ๑
พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง ๑
ย่อมเข้าไปตั้งมรณสัญญาไว้ในภายใน ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท
เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯ
จบสูตรที่ ๙
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๙. นิพพิทาสูตร
[๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท
เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ และเพื่อนิพพานโดยส่วนเดียว
ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นว่าไม่งามในกาย ๑
มีความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูลในอาหาร ๑
มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง ๑
พิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง ๑
ย่อมเข้าไปตั้งมรณสัญญาไว้ในภายใน ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการนี้แล
อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย
เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิท
เพื่อเข้าไปสงบ เพื่อรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯ
จบสูตรที่ ๙
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ความคิดเห็นที่ 10
อ้างอิง.........จทกท Smiling-girl
รบกวนถามค่ะ อารมณ์ประมาณวังเวง สังเวชใจ ปลง เนื่อยๆ เบื่อๆ (ไม่แน่ใจว่าใช่เบื่อหรือเปล่านะคะ) ฯลฯ
อารมณ์เหล่านี้ จัดอยู่ในกลุ่มโทสะ หรือไม่คะ
ก่อนที่จะแสดงความเห็น ต้องขออนุญาติคุณคันโทน่าเสียก่อน เพราะเห็นว่าจขกทเป็นติ่งของคุณคันโทน่าแก
เอาเป็นว่า ผมขออนุญาติคุณแล้วน่ะคุณคันฯ
ไอ้อารมณ์ที่คุณว่า ในสภาพธรรมตามความเป็นจริงมันไม่มีหรอกครับ
ที่คุณพูดมามันเป็นเพียงบัญญัติที่ใช้สื่อความคิดคุณ
มันยังไม่ใช่อารมณ์ มันจะเป็นอารมณ์ได้ก็ต่อเมื่อ เกิดผลของความคิดนั้นขึ้น
หมายความว่า ความคิดนั้นได้หยุดหรือดับไปแล้ว
คือ บางทีเราก็รู้สึกวังเวง สังเวช กับอะไรบางอย่างในภาพรวมนะคะ
ไม่ได้เจาะจงว่ากับใคร หรือเหตุการณ์ไหน แต่เปนความรู้สึกต่อภาพรวม
ก่อนที่คุณจะถามธรรมใคร คุณต้องทำความเข้าใจกับบัญญัติที่ใช้ให้ดีเสียก่อน
ต้องรู้ความหมายและเข้าใจไปในทางเดียวกันกับสังคม
คุณเอาคำว่า วังเวงกับสังเวชมาใช้ร่วมกัน มันทำให้คนฟังมีความรู้สึกว่า
กำลังกินทองหยิบ ฝอยทองที่มีส่วนผสมของพริกขี้หนูปนอยู่
ยกตัวอย่างนะคะ จะได้เห็นภาพขึ้น วันก่อนได้อ่านเรื่องราวย้อนหลังตอนแก๊สระเบิด (รั่ว?) แถวถนนเพชรบุรี
ได้เห็นภาพหลายๆ ภาพ คำบอกเล่าเเรื่องราว เหตุการณ์
ความรู้สึกก็แบบสังเวชใจ วังเวงยังไงชอบกล แบบอะไรหนอทำให้คนเหล่านี้มารวมกันอยู่ ณ จุดจุดนี้
ก็เปนเรื่องของวิบากกรรมนั่นแหละค่ะ แต่ก็ยังอดรู้สึกสลด ปลง ไปกับเหตุการณ์ไม่ได้
นี่ไม่ได้ประชดน่ะครับ อาการต่างๆที่คุณพูดมันเกิดจากกิเลสตัวเดียวเลยครับ
เขาเรียกว่า.....ฟุ้งซ่าน
มันมีสาเหตุมาจาก คุณได้อ่าน นวนิยายของท่านม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เรื่อง"หลายชีวิต"
เรื่องเก็บเรื่องราวนี้ไว้ใต้จิตสำนึก พอเวลามาเจอเรื่องแก็สระเบิด ก็เลยเอามาปรุงแต่งจนเป็นเรื่องเดียวกัน
ทั้งหมดทั้งมวลมันก็เกิดจาก สังโยชน์ อุธัจจะ นั้นแหล่ะครับ
ทีนี้ก็เลยสงสัยอย่างที่ถามข้างต้น คือ เราไม่เห็นจะไปโกรธ ไปเกิดโทสะอะไร ก็เลย...ใช่หรือเปล่า มันใช่หรือ....
โทสะไม่ใช่ความโกรธ โทสะคือการปฏิเสธอารมณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น
การเห็นข่าวแก็สระเบิด แล้วเกิดสังเวช(ภาษาที่ชาวบ้านใช้กัน) แบบนี้เขาเรียก วิภวตัณหา ส่งผลให้เกิดการ
ปฏิเสธอารมณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งเราเรียกสภาวะที่เกิดในกายใจนั้ว่า....โทสะ
รบกวนถามค่ะ อารมณ์ประมาณวังเวง สังเวชใจ ปลง เนื่อยๆ เบื่อๆ (ไม่แน่ใจว่าใช่เบื่อหรือเปล่านะคะ) ฯลฯ
อารมณ์เหล่านี้ จัดอยู่ในกลุ่มโทสะ หรือไม่คะ
ก่อนที่จะแสดงความเห็น ต้องขออนุญาติคุณคันโทน่าเสียก่อน เพราะเห็นว่าจขกทเป็นติ่งของคุณคันโทน่าแก
เอาเป็นว่า ผมขออนุญาติคุณแล้วน่ะคุณคันฯ
ไอ้อารมณ์ที่คุณว่า ในสภาพธรรมตามความเป็นจริงมันไม่มีหรอกครับ
ที่คุณพูดมามันเป็นเพียงบัญญัติที่ใช้สื่อความคิดคุณ
มันยังไม่ใช่อารมณ์ มันจะเป็นอารมณ์ได้ก็ต่อเมื่อ เกิดผลของความคิดนั้นขึ้น
หมายความว่า ความคิดนั้นได้หยุดหรือดับไปแล้ว
คือ บางทีเราก็รู้สึกวังเวง สังเวช กับอะไรบางอย่างในภาพรวมนะคะ
ไม่ได้เจาะจงว่ากับใคร หรือเหตุการณ์ไหน แต่เปนความรู้สึกต่อภาพรวม
ก่อนที่คุณจะถามธรรมใคร คุณต้องทำความเข้าใจกับบัญญัติที่ใช้ให้ดีเสียก่อน
ต้องรู้ความหมายและเข้าใจไปในทางเดียวกันกับสังคม
คุณเอาคำว่า วังเวงกับสังเวชมาใช้ร่วมกัน มันทำให้คนฟังมีความรู้สึกว่า
กำลังกินทองหยิบ ฝอยทองที่มีส่วนผสมของพริกขี้หนูปนอยู่
ยกตัวอย่างนะคะ จะได้เห็นภาพขึ้น วันก่อนได้อ่านเรื่องราวย้อนหลังตอนแก๊สระเบิด (รั่ว?) แถวถนนเพชรบุรี
ได้เห็นภาพหลายๆ ภาพ คำบอกเล่าเเรื่องราว เหตุการณ์
ความรู้สึกก็แบบสังเวชใจ วังเวงยังไงชอบกล แบบอะไรหนอทำให้คนเหล่านี้มารวมกันอยู่ ณ จุดจุดนี้
ก็เปนเรื่องของวิบากกรรมนั่นแหละค่ะ แต่ก็ยังอดรู้สึกสลด ปลง ไปกับเหตุการณ์ไม่ได้
นี่ไม่ได้ประชดน่ะครับ อาการต่างๆที่คุณพูดมันเกิดจากกิเลสตัวเดียวเลยครับ
เขาเรียกว่า.....ฟุ้งซ่าน
มันมีสาเหตุมาจาก คุณได้อ่าน นวนิยายของท่านม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เรื่อง"หลายชีวิต"
เรื่องเก็บเรื่องราวนี้ไว้ใต้จิตสำนึก พอเวลามาเจอเรื่องแก็สระเบิด ก็เลยเอามาปรุงแต่งจนเป็นเรื่องเดียวกัน
ทั้งหมดทั้งมวลมันก็เกิดจาก สังโยชน์ อุธัจจะ นั้นแหล่ะครับ
ทีนี้ก็เลยสงสัยอย่างที่ถามข้างต้น คือ เราไม่เห็นจะไปโกรธ ไปเกิดโทสะอะไร ก็เลย...ใช่หรือเปล่า มันใช่หรือ....
โทสะไม่ใช่ความโกรธ โทสะคือการปฏิเสธอารมณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น
การเห็นข่าวแก็สระเบิด แล้วเกิดสังเวช(ภาษาที่ชาวบ้านใช้กัน) แบบนี้เขาเรียก วิภวตัณหา ส่งผลให้เกิดการ
ปฏิเสธอารมณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งเราเรียกสภาวะที่เกิดในกายใจนั้ว่า....โทสะ
แสดงความคิดเห็น
>>>>>> วังเวง เนื่อยๆ เบื่อ ?!
อารมณ์เหล่านี้ จัดอยู่ในกลุ่มโทสะ หรือไม่คะ
คือ บางทีเราก็รู้สึกวังเวง สังเวช กับอะไรบางอย่างในภาพรวมนะคะ
ไม่ได้เจาะจงว่ากับใคร หรือเหตุการณ์ไหน แต่เปนความรู้สึกต่อภาพรวม
ยกตัวอย่างนะคะ จะได้เห็นภาพขึ้น วันก่อนได้อ่านเรื่องราวย้อนหลังตอนแก๊สระเบิด (รั่ว?) แถวถนนเพชรบุรี
ได้เห็นภาพหลายๆ ภาพ คำบอกเล่าเเรื่องราว เหตุการณ์
ความรู้สึกก็แบบสังเวชใจ วังเวงยังไงชอบกล แบบอะไรหนอทำให้คนเหล่านี้มารวมกันอยู่ ณ จุดจุดนี้
ก็เปนเรื่องของวิบากกรรมนั่นแหละค่ะ แต่ก็ยังอดรู้สึกสลด ปลง ไปกับเหตุการณ์ไม่ได้
ทีนี้ก็เลยสงสัยอย่างที่ถามข้างต้น คือ เราไม่เห็นจะไปโกรธ ไปเกิดโทสะอะไร ก็เลย...ใช่หรือเปล่า มันใช่หรือ....