สงสัยว่า เดี๋ยวนี้ทำไมคนเราใช้คำว่า "คือ" กันเยอะมากในประโยค ทั้งๆที่หลายๆครั้งไม่จำเป็น
ต้องมีเลยก็ได้ เดี๋ยวไอ้นู่นก็คือ ไอ้นี่ก็คือ คือขึ้นต้น ตรงกลางก็คืออีก ก่อนจบท้ายก็คืออีก นี่มัน
คืออะไรกันแน่ครับ
ใครรู้ช่วยตอบผมทีได้ไหม "คือ" นี่สื่อถีงความเป็นเหตุเป็นผลใช่ไหม เท่าที่เห็นมาก็เป็นลักษณะ
การคุย การโพส ระบาย อะไรทำนองนั้นครับ เช่น
"คือวันนี้อยากบอกว่า เหนื่อยมาก ทำงานอยู่ดีๆก็มีแต่คนมารบกวน งานก็เร่งด่วน คือแอบ
นอยด์สุดๆแต่ก็ต้องเก็บอารมณ์ไว้อ่ะ คือทนสุดๆแล้ว"
เท่าที่จำได้ หนังสือ1หน้าเอ4 หาคำว่าคือในหน้านั้นได้น้อยมาก มีสัก2-3คำเองมั้งครับ และเวลา
เขาจะใช้แต่ละทีมันมักมีเหตุแล้วบอกผลออกมา ไม่ใช่ว่าไปเรื่อยเปื่อยแล้วอยู่ๆมาบอกว่า "คือ"
หรืออีกอันก็จะเป็นประโยคนั้นที่เขียนมาต้องการบอกความหมาย หรือสิ่งที่กำลังหมายถึงแค่จุดนั้น
เวลาพูดทำไมต้องเริ่มด้วย "คือ" หรือใช้คำว่า "คือ" เยอะมากๆในประโยค
ต้องมีเลยก็ได้ เดี๋ยวไอ้นู่นก็คือ ไอ้นี่ก็คือ คือขึ้นต้น ตรงกลางก็คืออีก ก่อนจบท้ายก็คืออีก นี่มัน
คืออะไรกันแน่ครับ
ใครรู้ช่วยตอบผมทีได้ไหม "คือ" นี่สื่อถีงความเป็นเหตุเป็นผลใช่ไหม เท่าที่เห็นมาก็เป็นลักษณะ
การคุย การโพส ระบาย อะไรทำนองนั้นครับ เช่น
"คือวันนี้อยากบอกว่า เหนื่อยมาก ทำงานอยู่ดีๆก็มีแต่คนมารบกวน งานก็เร่งด่วน คือแอบ
นอยด์สุดๆแต่ก็ต้องเก็บอารมณ์ไว้อ่ะ คือทนสุดๆแล้ว"
เท่าที่จำได้ หนังสือ1หน้าเอ4 หาคำว่าคือในหน้านั้นได้น้อยมาก มีสัก2-3คำเองมั้งครับ และเวลา
เขาจะใช้แต่ละทีมันมักมีเหตุแล้วบอกผลออกมา ไม่ใช่ว่าไปเรื่อยเปื่อยแล้วอยู่ๆมาบอกว่า "คือ"
หรืออีกอันก็จะเป็นประโยคนั้นที่เขียนมาต้องการบอกความหมาย หรือสิ่งที่กำลังหมายถึงแค่จุดนั้น