ไหงกลายเป็นอย่างงั้นไป
เห็นตอนTDRIมาบอกว่า ผลผลิตข้าวไทยได้น้อยกว่าเวียดนาม สลิ่มชาวสวนยางห้องนี้ออกมาเย้ยกันใหญ่
นายบุญส่ง นับทอง นายกสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางพาราแห่งประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ที่จ.ภูเก็ต ระหว่างเข้าร่วมประชุมยางพาราอาเซียนว่า ในการประชุมครั้งนี้ได้รับข้อมูลใหม่ๆ ด้านการผลิตยางพาราของประเทศเพื่อนบ้าน อาทิเมียนมาร์ ลาว กัมพูชา อินเดียและจีน ขณะที่มาเลเซีย ซึ่งเคยลดพื้นที่ปลูกยางพาราจาก7แสนไร่ ปัจจุบันกลับมาขยายพื้นที่เพาะปลูกยางมากขึ้นกว่าเดิมเป็นล้านไร่ สำหรับไทยปลูกยางมาก 18ล้านไร่ มีผลผลิตโดยเฉลี่ย 3.7ล้านตัน
นายบุญส่งกล่าวว่า เกษตรกรปลูกยางพาราของไทยจะต้องปรับปรุงตัว โดยเฉพาะการเสาะหาพันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตสูง เนื่องจากในปัจจุบัน ยางไทยให้
ผลผลิตเพียง 300กิโลกรัม(ก.ก.)ต่อไร่ต่อปี ส่วนมาเลเซีย 400ก.ก./ไร่/ปี ที่กัวเตมาลา อยู่ใน
ละตินอเมริกา ราว 1,000ก.ก./ไร่/ปี ทั้งนี้กรมวิชาการเกษตรของไทยสามารถเพาะพันธุ์กล้ายางให้ได้ผลผลิตสูงถึง 450ก.ก./ไร่/ปี และในบางแปลงให้น้ำยาง 600ก.ก./ไร่/ปี
นายบุญส่งกล่าวว่า รัฐบาลจะต้องส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรหันมาเพาะปลูกพันธุ์ยางให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น ควบคู่กับการสนับสนุนด้านปัจจัยการผลิต เช่นปุ๋ย นอกจากนี้ ในพื้นที่การทำสวนยาง ภาคใต้ประสบปัญหาแรงงานกรีดยาง จึงต้องให้ทุกภาคส่วนหันมาช่วยเหลือรวมทั้งอยากให้รัฐบาลเน้นการแปรรูปยางพาราเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1365654704
เผยยางไทยผลผลิตสุดต่ำ แค่300กิโลกรัมไร่ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ
เห็นตอนTDRIมาบอกว่า ผลผลิตข้าวไทยได้น้อยกว่าเวียดนาม สลิ่มชาวสวนยางห้องนี้ออกมาเย้ยกันใหญ่
นายบุญส่ง นับทอง นายกสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางพาราแห่งประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ที่จ.ภูเก็ต ระหว่างเข้าร่วมประชุมยางพาราอาเซียนว่า ในการประชุมครั้งนี้ได้รับข้อมูลใหม่ๆ ด้านการผลิตยางพาราของประเทศเพื่อนบ้าน อาทิเมียนมาร์ ลาว กัมพูชา อินเดียและจีน ขณะที่มาเลเซีย ซึ่งเคยลดพื้นที่ปลูกยางพาราจาก7แสนไร่ ปัจจุบันกลับมาขยายพื้นที่เพาะปลูกยางมากขึ้นกว่าเดิมเป็นล้านไร่ สำหรับไทยปลูกยางมาก 18ล้านไร่ มีผลผลิตโดยเฉลี่ย 3.7ล้านตัน
นายบุญส่งกล่าวว่า เกษตรกรปลูกยางพาราของไทยจะต้องปรับปรุงตัว โดยเฉพาะการเสาะหาพันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตสูง เนื่องจากในปัจจุบัน ยางไทยให้ผลผลิตเพียง 300กิโลกรัม(ก.ก.)ต่อไร่ต่อปี ส่วนมาเลเซีย 400ก.ก./ไร่/ปี ที่กัวเตมาลา อยู่ในละตินอเมริกา ราว 1,000ก.ก./ไร่/ปี ทั้งนี้กรมวิชาการเกษตรของไทยสามารถเพาะพันธุ์กล้ายางให้ได้ผลผลิตสูงถึง 450ก.ก./ไร่/ปี และในบางแปลงให้น้ำยาง 600ก.ก./ไร่/ปี
นายบุญส่งกล่าวว่า รัฐบาลจะต้องส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรหันมาเพาะปลูกพันธุ์ยางให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น ควบคู่กับการสนับสนุนด้านปัจจัยการผลิต เช่นปุ๋ย นอกจากนี้ ในพื้นที่การทำสวนยาง ภาคใต้ประสบปัญหาแรงงานกรีดยาง จึงต้องให้ทุกภาคส่วนหันมาช่วยเหลือรวมทั้งอยากให้รัฐบาลเน้นการแปรรูปยางพาราเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มมากขึ้น
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1365654704