ถ้าพิชญ์และทีมงานไม่โง่เกินไป ...ดีลนี้ โอกาสแพ้คดียาก เพราะ
1. ถ้าเป็นอย่างหลายๆท่านว่ามา คือ ไปเพิ่มทุน TTTBB แบบหักหาญฝืนใจ "มีโอกาสโดนเล่นคืนสูงมาก"
............... 1.1 หลังจากพิชญ์ได้ TTTBB เปล่าๆ ที่มีแต่แบรนด์ ไม่มีวงจรเนตเวิร์ค ไม่มีอุปกรณ์ เช่าของ TT&T ใช้ทั้งหมด , เค้ามีเวลา ตั้งแต่ปี 52 53 54 55 56 ที่จะปรับสภาพ บ. แยกเป็น บ.ลูก หลายๆ บริษัท บางบริษัทถือสินทรัพย์ บางบริษัทถือลูกค้าภูธร บางบริษัทถือลูกค้า กทม. บลาๆๆๆๆ ....................... แต่พิชญ์ไม่ได้ทำ มันแปลว่าอะไร................. อย่างน้อยก็แปลว่าไม่เคยคิดว่าจะโดนฟ้องลักษณะนี้และแพ้คดีได้
2... ตามสำนวน TT&T ฟ้องเพื่อรักษาผลประโยชน์ให้ ผถห.TT&T ปี 52 ที่ไม่ได้รับโอกาสเพิ่มทุนใน TTBB , ซึ่งตอนนั้นมี Jas เป็น ผถห.ใหญ่ TT&T ถือถึง 30-40% ดังนั้นสมมติว่า แพ้คดีแล้วมีการเพิ่มทุน TTTBB จริงๆ .....
.......2.1 JAS ก็ยังคงเป็น ผถห.ใหญ่ TTTBB อยู่ดี โดยจะมีสัดส่วนการถือหุ้นราวๆ 50% และ JAS จะได้เงินก้อนใหญ่จากการขายหุ้น TTTBB อีกกึ่งนึงไปยัง ผถห.เก่า TT&T ที่ยอมซื้อ
3. ราคาเพิ่มทุน ....... โอกาสที่ JAS แพ้คดีแล้ว ราคายุติธรรมที่เพิ่มทุนจะเป็นราคาปี 52 เป็นไปไม่ได้ครับ ....เพราะ ผู้ฟ้องร้อง เพิ่งมาจงใจฟ้องร้องปี 57 และจำเลยมีสิทธิแก้ต่างอีกมากมายว่า ไม่ได้ทำตามMOU เพราะ กลต. ปฏิเสธไม่ให้นำ TTTBB เข้าตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นการเสนอเพิ่มทุนให้ ผถห.รายย่อยของ TT&T ทุกราย หมื่นๆคน มันทำไม่ได้ในทางปฏิบัติ จึงเสนอเพิ่มทุนไปที่ TT&T เท่านั้น ,
.....3.1 คดีนี้ โจทย์ตัวจริงควรจะเป็น ผถห TT&T ปี 52 ฟ้อง จำเลย (นิติบุคคล TT&T , JAS ) ที่ไม่สามารถทำการกระจายหุ้นให้ ผถห. ได้มากกว่า ..... มองแบบนี้ก็ตลกดี เหมือน TT&T ฟ้องตัวเองไปด้วย เพราะใน mou ระบุว่าให้ tt&t และ jas ร่วมกันกันทำการเพิ่มทุนกระจายหุ้นดังกล่าว
......3.2 สมมติว่า แพ้คดีจริงๆ อาจจะมีค่าเหมือนออก infrafund ทางอ้อมก็ได้ .... ได้เงินก้อนโตเข้า บ. แต่กำไรลด
4. การออก MOU หรือ LOI มักทำ เพื่อตอนเลี่ยงจะยังไม่เซ็นสัญญา อาจเป็นเหมือนสัญญาสุภาพบุรุษมากกว่า แต่แค่เปลี่ยนจากคำพูดเป็นตัวอักษร บางทีก็เป็นแค่ framework ที่ไม่มีรายละเอียด เซ็นกันเพื่อรอคอยจะเซ็นสัญญาจริงเมื่อตกลงเจรจาต่อรองทางผลประโยชน์หรือเงื่อนไขทางการค้าสำเร็จจริงก่อน ถึง final deal จึงจะเซ็นสัญญาตัวจริง แล้วผูกพันกันเต็มที่
อย่างกรณีสมมติบริษัท Erocssin มีอุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ๆ เลยเอาไปให้ผู้บริหาร DTOX ให้สนใจและขอเซ็น MOU ว่าจะร่วมมือกันเอาอุปกรณ์ไปทดสอบและลองในตลาดประเทศ TAILAND เพราะ sales Erocssin อยากเอาผลงานไปโชว์นาย แต่ที่จริง DTOX ก็ยังไม่อยากได้จริงๆ
แต่ต่อมา DTOX ไปเอาอุปกรณ์ Huawet กับ ZET มาหน้าตาเฉย
Erocssin ก็ฟ้องไม่ได้ เพราะมันเป็นแค่ "เข้าใจกันตรงกัน" ว่า "จะ" ทำ แค่ MOU แต่ไม่ใช่สัญญา "Agreement" หรือ "Contract" ที่มีข้อผูกพันต่างๆ ระบุมากมาย ใครบิดพริ้วอะไร จะปรับยังไง วันละกี่ % จะไปฟ้องกันที่ศาลไหน เรื่องไหน แม้แต่มีข้อสัญญา เป็นการกระทำโดยไม่จงใจ เรื่องที่ถูกทำโดยธรรมชาติ Act of god/Force majeure ไม่มีใครผิด อย่างนี้เป็นต้น
5. ถ้าเป็นการทุบหุ้นเอาของจริงๆ ก็ถือว่า เลวมาก
JAS สรุปจาก TVI
1. ถ้าเป็นอย่างหลายๆท่านว่ามา คือ ไปเพิ่มทุน TTTBB แบบหักหาญฝืนใจ "มีโอกาสโดนเล่นคืนสูงมาก"
............... 1.1 หลังจากพิชญ์ได้ TTTBB เปล่าๆ ที่มีแต่แบรนด์ ไม่มีวงจรเนตเวิร์ค ไม่มีอุปกรณ์ เช่าของ TT&T ใช้ทั้งหมด , เค้ามีเวลา ตั้งแต่ปี 52 53 54 55 56 ที่จะปรับสภาพ บ. แยกเป็น บ.ลูก หลายๆ บริษัท บางบริษัทถือสินทรัพย์ บางบริษัทถือลูกค้าภูธร บางบริษัทถือลูกค้า กทม. บลาๆๆๆๆ ....................... แต่พิชญ์ไม่ได้ทำ มันแปลว่าอะไร................. อย่างน้อยก็แปลว่าไม่เคยคิดว่าจะโดนฟ้องลักษณะนี้และแพ้คดีได้
2... ตามสำนวน TT&T ฟ้องเพื่อรักษาผลประโยชน์ให้ ผถห.TT&T ปี 52 ที่ไม่ได้รับโอกาสเพิ่มทุนใน TTBB , ซึ่งตอนนั้นมี Jas เป็น ผถห.ใหญ่ TT&T ถือถึง 30-40% ดังนั้นสมมติว่า แพ้คดีแล้วมีการเพิ่มทุน TTTBB จริงๆ .....
.......2.1 JAS ก็ยังคงเป็น ผถห.ใหญ่ TTTBB อยู่ดี โดยจะมีสัดส่วนการถือหุ้นราวๆ 50% และ JAS จะได้เงินก้อนใหญ่จากการขายหุ้น TTTBB อีกกึ่งนึงไปยัง ผถห.เก่า TT&T ที่ยอมซื้อ
3. ราคาเพิ่มทุน ....... โอกาสที่ JAS แพ้คดีแล้ว ราคายุติธรรมที่เพิ่มทุนจะเป็นราคาปี 52 เป็นไปไม่ได้ครับ ....เพราะ ผู้ฟ้องร้อง เพิ่งมาจงใจฟ้องร้องปี 57 และจำเลยมีสิทธิแก้ต่างอีกมากมายว่า ไม่ได้ทำตามMOU เพราะ กลต. ปฏิเสธไม่ให้นำ TTTBB เข้าตลาดหลักทรัพย์ ดังนั้นการเสนอเพิ่มทุนให้ ผถห.รายย่อยของ TT&T ทุกราย หมื่นๆคน มันทำไม่ได้ในทางปฏิบัติ จึงเสนอเพิ่มทุนไปที่ TT&T เท่านั้น ,
.....3.1 คดีนี้ โจทย์ตัวจริงควรจะเป็น ผถห TT&T ปี 52 ฟ้อง จำเลย (นิติบุคคล TT&T , JAS ) ที่ไม่สามารถทำการกระจายหุ้นให้ ผถห. ได้มากกว่า ..... มองแบบนี้ก็ตลกดี เหมือน TT&T ฟ้องตัวเองไปด้วย เพราะใน mou ระบุว่าให้ tt&t และ jas ร่วมกันกันทำการเพิ่มทุนกระจายหุ้นดังกล่าว
......3.2 สมมติว่า แพ้คดีจริงๆ อาจจะมีค่าเหมือนออก infrafund ทางอ้อมก็ได้ .... ได้เงินก้อนโตเข้า บ. แต่กำไรลด
4. การออก MOU หรือ LOI มักทำ เพื่อตอนเลี่ยงจะยังไม่เซ็นสัญญา อาจเป็นเหมือนสัญญาสุภาพบุรุษมากกว่า แต่แค่เปลี่ยนจากคำพูดเป็นตัวอักษร บางทีก็เป็นแค่ framework ที่ไม่มีรายละเอียด เซ็นกันเพื่อรอคอยจะเซ็นสัญญาจริงเมื่อตกลงเจรจาต่อรองทางผลประโยชน์หรือเงื่อนไขทางการค้าสำเร็จจริงก่อน ถึง final deal จึงจะเซ็นสัญญาตัวจริง แล้วผูกพันกันเต็มที่
อย่างกรณีสมมติบริษัท Erocssin มีอุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ๆ เลยเอาไปให้ผู้บริหาร DTOX ให้สนใจและขอเซ็น MOU ว่าจะร่วมมือกันเอาอุปกรณ์ไปทดสอบและลองในตลาดประเทศ TAILAND เพราะ sales Erocssin อยากเอาผลงานไปโชว์นาย แต่ที่จริง DTOX ก็ยังไม่อยากได้จริงๆ
แต่ต่อมา DTOX ไปเอาอุปกรณ์ Huawet กับ ZET มาหน้าตาเฉย
Erocssin ก็ฟ้องไม่ได้ เพราะมันเป็นแค่ "เข้าใจกันตรงกัน" ว่า "จะ" ทำ แค่ MOU แต่ไม่ใช่สัญญา "Agreement" หรือ "Contract" ที่มีข้อผูกพันต่างๆ ระบุมากมาย ใครบิดพริ้วอะไร จะปรับยังไง วันละกี่ % จะไปฟ้องกันที่ศาลไหน เรื่องไหน แม้แต่มีข้อสัญญา เป็นการกระทำโดยไม่จงใจ เรื่องที่ถูกทำโดยธรรมชาติ Act of god/Force majeure ไม่มีใครผิด อย่างนี้เป็นต้น
5. ถ้าเป็นการทุบหุ้นเอาของจริงๆ ก็ถือว่า เลวมาก