[๓๕๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
ธรรม ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมไม่ข่มจิตในสมัยที่ควรข่ม ๑
ไม่ประคองจิตในสมัยที่ควรประคอง ๑
ไม่ยังจิตให้ร่าเริงในสมัยที่ควรให้ร่าเริง ๑
ไม่วางเฉยจิตในสมัยที่ควรวางเฉย ๑
เป็นผู้น้อมไปในธรรมเลว ๑
และเป็นผู้ยินดียิ่งในสักกายะ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล
ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
.......................
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นผู้ควรเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
ธรรม ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมข่มจิตในสมัยที่ควรข่ม ๑
ย่อมประคองจิตในสมัยที่ควรประคอง ๑
ย่อมยังจิตให้ร่าเริงในสมัยที่ควรให้ร่าเริง ๑
ย่อมวางเฉยจิตในสมัยที่ควรวางเฉย ๑
เป็นผู้น้อมไปในธรรมประณีต ๑
และเป็นผู้ยินดียิ่งในนิพพาน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล
ย่อมเป็นผู้ควรกระทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง ฯ
----------------
สีติสูตร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๑๐๒๐๗ - ๑๐๒๒๓. หน้าที่ ๔๔๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=10207&Z=10223&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=356
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
ธรรม ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมไม่ข่มจิตในสมัยที่ควรข่ม ๑
ไม่ประคองจิตในสมัยที่ควรประคอง ๑
ไม่ยังจิตให้ร่าเริงในสมัยที่ควรให้ร่าเริง ๑
ไม่วางเฉยจิตในสมัยที่ควรวางเฉย ๑
เป็นผู้น้อมไปในธรรมเลว ๑
และเป็นผู้ยินดียิ่งในสักกายะ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
.......................
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ ย่อมเป็นผู้ควรเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง
ธรรม ๖ ประการเป็นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมข่มจิตในสมัยที่ควรข่ม ๑
ย่อมประคองจิตในสมัยที่ควรประคอง ๑
ย่อมยังจิตให้ร่าเริงในสมัยที่ควรให้ร่าเริง ๑
ย่อมวางเฉยจิตในสมัยที่ควรวางเฉย ๑
เป็นผู้น้อมไปในธรรมประณีต ๑
และเป็นผู้ยินดียิ่งในนิพพาน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๖ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ควรกระทำให้แจ้งซึ่งความเป็นผู้เย็นอย่างยิ่ง ฯ
----------------
สีติสูตร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๑๐๒๐๗ - ๑๐๒๒๓. หน้าที่ ๔๔๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=10207&Z=10223&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=356