ตอนนี้กำลังจะทำวิจัยส่งอาจารย์เกี่ยวกับสารสองตัวนี้อ่ะคร่าาาา
ทราบมาคร่าวๆว่า เป็นสารที่สามารถต้านอนุมูลอิสระ เป็นสารกันบูด ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดกลิ่นหืนออกซิเดชันของไขมัน มันถูกนำมาใช้เพื่อรักษากลิ่นอาหารสีและรสชาติ กันกลิ่นเหม็นหืนในอาหาร อาจเป็นสารที่ต้านไวรัสและยาปฏิชีวนะ จากการวิจัยต่างประเทศพบว่ารักษาโรคเริมได้
และมีข้อเสียคือ อาจก่อให้เกิดเซลล์มะเร็ง ,forestomach ,BHA papillomas หรืออาจเกิด tumorigenicity ได้หากได้รับสารนี้เข้าร่างกายในปริมาณหนึ่ง
มักถูกใส่ไว้ในอาหารสัตว์ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง หมากฝรั่ง ขนมกรุบกรอบ ผลิตภัณฑ์ยางและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ตอนนี้รู้ข้อมูลแค่คร่าวๆเองค่ะ ยังตั้งหัวข้อวิจัยไม่ได้เลย แต่สนใจสารสองตัวนี้มากๆค่ะ ใครพอมีแนวทางบ้างไหมคะ อยากจะได้แนวคิดไปเสนออาจารย์มากๆเลยค่ะ
ตอนนี้อยากรู้จักสารสองตัวนี้อย่างละเอียด อยากรู้วิธีและกลไกการทำงานของมัน แล้วถ้าเอาไปทดลองกับสัตว์จะดีมั้ยคะ แล้วจะเป็นสัตว์ประเภทไหน จะออกแบบการทดลองยังไง หัวข้อวิจัยจะวิจัยไปในแนวทางไหน คำถามเยอะแยะไปหมดเลยค่า
ขอบคุณทุกความคิดเห็นและคำแนะนำนะคะ จะเอาไปปรับปรุงให้ดีที่สุดค่ะ
สู้โว้ยยยยย!!!
ชาววิทย์ทั้งหลาย ใครรู้จักสารป้องกันกลิ่นหืน BHA กับ BHT บ้างคะะะะะ??????????????
ทราบมาคร่าวๆว่า เป็นสารที่สามารถต้านอนุมูลอิสระ เป็นสารกันบูด ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดกลิ่นหืนออกซิเดชันของไขมัน มันถูกนำมาใช้เพื่อรักษากลิ่นอาหารสีและรสชาติ กันกลิ่นเหม็นหืนในอาหาร อาจเป็นสารที่ต้านไวรัสและยาปฏิชีวนะ จากการวิจัยต่างประเทศพบว่ารักษาโรคเริมได้
และมีข้อเสียคือ อาจก่อให้เกิดเซลล์มะเร็ง ,forestomach ,BHA papillomas หรืออาจเกิด tumorigenicity ได้หากได้รับสารนี้เข้าร่างกายในปริมาณหนึ่ง
มักถูกใส่ไว้ในอาหารสัตว์ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง หมากฝรั่ง ขนมกรุบกรอบ ผลิตภัณฑ์ยางและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ตอนนี้รู้ข้อมูลแค่คร่าวๆเองค่ะ ยังตั้งหัวข้อวิจัยไม่ได้เลย แต่สนใจสารสองตัวนี้มากๆค่ะ ใครพอมีแนวทางบ้างไหมคะ อยากจะได้แนวคิดไปเสนออาจารย์มากๆเลยค่ะ
ตอนนี้อยากรู้จักสารสองตัวนี้อย่างละเอียด อยากรู้วิธีและกลไกการทำงานของมัน แล้วถ้าเอาไปทดลองกับสัตว์จะดีมั้ยคะ แล้วจะเป็นสัตว์ประเภทไหน จะออกแบบการทดลองยังไง หัวข้อวิจัยจะวิจัยไปในแนวทางไหน คำถามเยอะแยะไปหมดเลยค่า
ขอบคุณทุกความคิดเห็นและคำแนะนำนะคะ จะเอาไปปรับปรุงให้ดีที่สุดค่ะ
สู้โว้ยยยยย!!!