ผมคัดลอกเนื้อหาบางตอนของ "มนุษย์หุ้น 2.0" ของคุณชัยภัทร เนื่องคำมา ให้เพื่อนๆได้อ่านกัน ก่อนจะเริ่มลงทุน เราควรสำรวจตัวเราเองก่อนว่าเรามีความต้องการแค่ไหน และในความเป็นจริงเป็นไปได้หรือเปล่า เราจะได้ลงทุนอย่างมีความสุข สิ่งสำคัญคือ เมื่อถึงจุดหมายแล้วต้องรู้จักคำว่าพอ มิฉะนั้น เราจะไม่ได้พบอิสระภาพทางการเงินที่แท้จริง
----------------------------------
"อิสรภาพทางการเงิน" ไม่ได้แปลว่ารํารวยมหาศาลเสมอไป ไม่ใช่ว่าต้องมีทรัพย์สินหมืนล้านแบบทีนิยมโฆษณากัน เท่านั้นเท่านี้ แต่คําว่า อิสรภาพทางการเงิน นั้นขึ้นอยู่กับการนิยามคําว่า "พอ" ในความหมายของแต่ละคน การมีมากมีน้อยไม่สําคัญเท่ากับ เรามีเท่าไหร่แล้วคิดว่าพอ ไม่ได้ขึ้นกับตัวเลข บางคนมี 1 ล้านตั้งเป้าที 100 ล้าน พอเรามี 100 ล้านเรามักจะอยากมี 1000 ล้าน เพราะคิดว่าร้อยล้านนั้นไม่เพียงพอแล้ว ถ้าเป็นเช่นนั้นต่อให้แก่จนตายคุณก็ไม่สามารถเข้าถึงคําว่าอิสรภาพทางการเงินได้หรอก โดยธรรมชาติความต้องการของมนุษย์มีไม่จํากัด แต่เราสามารถฝึกฝนจํากัดความโลภ ของตัวเองได้ ดังนั้นอย่าไปตั้งเป้าทีว่าจะมีเงินเท่าไหร่ แต่จงตั้งเป้าหมายว่าเราจะพอเท่าไหร่ ต้องการใช้เงินเท่าไหร่แล้วหาเงินให้ พอดีกับความต้องการใช้จ่ายของเรา ทั้งรายจ่ายประจํา รายจ่ายยามฉุกเฉิน และเงินสํารอง แน่นอนว่าต้องเผือเหลือเผือขาด แต่ไม่ใช่มากมายจนหาประมาณไม่ได้ ขอยกตัวอย่างตัวผมเอง อนาคตผมเองวางแผนว่ารายจ่ายประมาณปีละ 500000 บาท บวกกับส่วนสํารองอีกสัก 50% คิดเป็น 750000 บาทต่อปี(แบบสบายสุดๆเพือเลี้ยงครอบครัว) ดังนั้นถ้าพอร์ตลงทุน สามารถสร้างกระแสเงินสด จากเงินปันผลหรือผลตอบแทน ได้คงทีปีละ 750000 บาท ผมเองก็ถือว่าตัวเอง มีอิสรภาพทางการเงินแล้ว ไม่ต้องรอมีพันล้าน หมืนล้าน แล้วค่อยมีอิสระ หลายคนมองว่าง่ายๆ เงินเพียงแค่นี้เองหรือ??? จริงๆ ความยากคือการทําให้มันเกิดกระแสเงินสดจากผลตอบแทนทีคงทีไม่น้อยกว่าเป้าทีวางไว้ตลอดไป ตลอดชีวิตตัวเรา นีต่างหากทีท้าทายต้องใช้ความสามารถประสบการณ์ ในการลงทุนทีมาก แตกต่างจากการถูกแจ๊คพอตทํากําไรได้เยอะๆในครั้งเดียว
แต่สิ่งหนึ่งทีทําให้ผมไปถึง อิสรภาพทางการเงินของตัวเองได้แน่นอนในชาตินี้ คือ วิธีคิดเพราะผมเน้นการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ไม่มีความต้องการจะครอบครองทางวัตถุที่มากมาย ไม่ได้อยากเป็นเศรษฐีขับรถสปอร์ต อยู่บ้านหลังละหลายสิบล้าน ซื้อของแบรนด์เนมแพงๆ ผมชอบชีวิตแบบเรียบง่าย พอเพียง มันทําให้ผมเห็นเป้าหมาย อิสรภาพทางการเงิน ของตัวเองที่ชัดเจนและอยู่บนโลกของความเป็นจริง
สรุป ผมเองก็เคยอยู่ใน วัฏจักรเหล่านี้มาก่อน เข้าใจว่าเราทุกคนล้วนอยากรวย อยากมีอยากได้ ทุกอย่างไม่มีอะไรทีได้มาง่ายๆ เราต้องออกแรงลงแรงเพือแลกมาเสมอ ผมเขียนบทความนี้ เพื่ออยากให้ทุกท่านมอง "อิสรภาพทางการเงิน" แบบเป็นจริง ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อทางอารมณ์ ด้วยความโลภ จากคําคํานี้ หวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน ผมอยากให้เรามองคําว่า อิสรภาพทางการเงิน ในเทอม์ของเป้าหมายของแรงบันดาลใจ ไม่ใช่มองด้วยความโลภ ความอยากมี อยากรวยในเวลารวดเร็ว เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นเราจะมองหาทางลัดและตกเป็นเหยื่อของผู้ที่หาผลประโยชน์จาก ความโลภของเราทันที
อิสรภาพทางการเงิน แต่ละคนไม่เท่ากัน
----------------------------------
"อิสรภาพทางการเงิน" ไม่ได้แปลว่ารํารวยมหาศาลเสมอไป ไม่ใช่ว่าต้องมีทรัพย์สินหมืนล้านแบบทีนิยมโฆษณากัน เท่านั้นเท่านี้ แต่คําว่า อิสรภาพทางการเงิน นั้นขึ้นอยู่กับการนิยามคําว่า "พอ" ในความหมายของแต่ละคน การมีมากมีน้อยไม่สําคัญเท่ากับ เรามีเท่าไหร่แล้วคิดว่าพอ ไม่ได้ขึ้นกับตัวเลข บางคนมี 1 ล้านตั้งเป้าที 100 ล้าน พอเรามี 100 ล้านเรามักจะอยากมี 1000 ล้าน เพราะคิดว่าร้อยล้านนั้นไม่เพียงพอแล้ว ถ้าเป็นเช่นนั้นต่อให้แก่จนตายคุณก็ไม่สามารถเข้าถึงคําว่าอิสรภาพทางการเงินได้หรอก โดยธรรมชาติความต้องการของมนุษย์มีไม่จํากัด แต่เราสามารถฝึกฝนจํากัดความโลภ ของตัวเองได้ ดังนั้นอย่าไปตั้งเป้าทีว่าจะมีเงินเท่าไหร่ แต่จงตั้งเป้าหมายว่าเราจะพอเท่าไหร่ ต้องการใช้เงินเท่าไหร่แล้วหาเงินให้ พอดีกับความต้องการใช้จ่ายของเรา ทั้งรายจ่ายประจํา รายจ่ายยามฉุกเฉิน และเงินสํารอง แน่นอนว่าต้องเผือเหลือเผือขาด แต่ไม่ใช่มากมายจนหาประมาณไม่ได้ ขอยกตัวอย่างตัวผมเอง อนาคตผมเองวางแผนว่ารายจ่ายประมาณปีละ 500000 บาท บวกกับส่วนสํารองอีกสัก 50% คิดเป็น 750000 บาทต่อปี(แบบสบายสุดๆเพือเลี้ยงครอบครัว) ดังนั้นถ้าพอร์ตลงทุน สามารถสร้างกระแสเงินสด จากเงินปันผลหรือผลตอบแทน ได้คงทีปีละ 750000 บาท ผมเองก็ถือว่าตัวเอง มีอิสรภาพทางการเงินแล้ว ไม่ต้องรอมีพันล้าน หมืนล้าน แล้วค่อยมีอิสระ หลายคนมองว่าง่ายๆ เงินเพียงแค่นี้เองหรือ??? จริงๆ ความยากคือการทําให้มันเกิดกระแสเงินสดจากผลตอบแทนทีคงทีไม่น้อยกว่าเป้าทีวางไว้ตลอดไป ตลอดชีวิตตัวเรา นีต่างหากทีท้าทายต้องใช้ความสามารถประสบการณ์ ในการลงทุนทีมาก แตกต่างจากการถูกแจ๊คพอตทํากําไรได้เยอะๆในครั้งเดียว
แต่สิ่งหนึ่งทีทําให้ผมไปถึง อิสรภาพทางการเงินของตัวเองได้แน่นอนในชาตินี้ คือ วิธีคิดเพราะผมเน้นการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ไม่มีความต้องการจะครอบครองทางวัตถุที่มากมาย ไม่ได้อยากเป็นเศรษฐีขับรถสปอร์ต อยู่บ้านหลังละหลายสิบล้าน ซื้อของแบรนด์เนมแพงๆ ผมชอบชีวิตแบบเรียบง่าย พอเพียง มันทําให้ผมเห็นเป้าหมาย อิสรภาพทางการเงิน ของตัวเองที่ชัดเจนและอยู่บนโลกของความเป็นจริง
สรุป ผมเองก็เคยอยู่ใน วัฏจักรเหล่านี้มาก่อน เข้าใจว่าเราทุกคนล้วนอยากรวย อยากมีอยากได้ ทุกอย่างไม่มีอะไรทีได้มาง่ายๆ เราต้องออกแรงลงแรงเพือแลกมาเสมอ ผมเขียนบทความนี้ เพื่ออยากให้ทุกท่านมอง "อิสรภาพทางการเงิน" แบบเป็นจริง ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อทางอารมณ์ ด้วยความโลภ จากคําคํานี้ หวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน ผมอยากให้เรามองคําว่า อิสรภาพทางการเงิน ในเทอม์ของเป้าหมายของแรงบันดาลใจ ไม่ใช่มองด้วยความโลภ ความอยากมี อยากรวยในเวลารวดเร็ว เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นเราจะมองหาทางลัดและตกเป็นเหยื่อของผู้ที่หาผลประโยชน์จาก ความโลภของเราทันที