Basel III เป็นหลักเกณฑ์ตัวใหม่ที่ใช้ควบคุมระบบสถาบันการเงิน เพิ่งเริ่มใช้ เมื่อต้นปี 56 (ทยอยใช้ แต่ยังไม่บังคับทุกตัว)
ที่อยากรู้คือเป็นเรื่องของสภาพคล่อง
" กำหนดให้สำรองสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องตามเกณฑ์ หรือ Liquidity Coverage Ratio (LCR) เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีการสำรองสินทรัพย์ที่สภาพคล่องสูงไม่น้อยกว่า 30 วันของมูลค่ากระแสเงินสดสุทธิที่จ่ายออกไป ภายใต้วิกฤต
กำหนดให้ธนาคารพาณิชย์มีโครงสร้างแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม หรือ Net Stable Funding Ratio (NFSR) เพื่อให้มั่นใจว่ามีสภาพคล่องเพียงพอที่จะรองรับการทำธุรกิจใน 1 ปี "
วันที่มีผลบังคับใช้
LCR : 1 ม.ค. 2558
NFSR : 1 ม.ค. 2561
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้ ทางออมสินโดนถอนเงินไปเฉลี่ยวันละ 20000 ล้านบาท ถ้าเอาตามเกณฑ์อันใหม่ ก็ต้องกันสำรอง 30 วัน เป็นเงินเกือบ 6 แสนล้าน ในทางปฏิบัติจะทำได้จริงหรือครับ
(สมัยผมเรียนจบ Basel II เพิ่งประกาศใช้ จำได้ว่า ที่เป็น hilight ก็คือ ratio เรื่องสัดส่วนกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ^^ )
และถามผู้รู้เรื่อง Basel III มันมีกฏเกณฑ์ที่กันไม่ให้ผู้บริหารสถาบันการเงิน อนุมัติอะไรที่เป็นการสุ่มเสี่ยงต่อสถาบันการเงินมั้ยครับ
จาก Basel III กับ แบงค์ออมสิน เรื่องสภาพคล่อง
ที่อยากรู้คือเป็นเรื่องของสภาพคล่อง
" กำหนดให้สำรองสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องตามเกณฑ์ หรือ Liquidity Coverage Ratio (LCR) เพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีการสำรองสินทรัพย์ที่สภาพคล่องสูงไม่น้อยกว่า 30 วันของมูลค่ากระแสเงินสดสุทธิที่จ่ายออกไป ภายใต้วิกฤต
กำหนดให้ธนาคารพาณิชย์มีโครงสร้างแหล่งเงินทุนที่เหมาะสม หรือ Net Stable Funding Ratio (NFSR) เพื่อให้มั่นใจว่ามีสภาพคล่องเพียงพอที่จะรองรับการทำธุรกิจใน 1 ปี "
วันที่มีผลบังคับใช้
LCR : 1 ม.ค. 2558
NFSR : 1 ม.ค. 2561
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้ ทางออมสินโดนถอนเงินไปเฉลี่ยวันละ 20000 ล้านบาท ถ้าเอาตามเกณฑ์อันใหม่ ก็ต้องกันสำรอง 30 วัน เป็นเงินเกือบ 6 แสนล้าน ในทางปฏิบัติจะทำได้จริงหรือครับ
(สมัยผมเรียนจบ Basel II เพิ่งประกาศใช้ จำได้ว่า ที่เป็น hilight ก็คือ ratio เรื่องสัดส่วนกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ^^ )
และถามผู้รู้เรื่อง Basel III มันมีกฏเกณฑ์ที่กันไม่ให้ผู้บริหารสถาบันการเงิน อนุมัติอะไรที่เป็นการสุ่มเสี่ยงต่อสถาบันการเงินมั้ยครับ