กฎไตรลักษณ์ คือกฎของธรรมชาติ ๓ ประการที่มีอยู่ในสิ่งปรุงแต่ง(สังขาร)ทั้งปวง อันได้แก่
อนิจจลักษณะ คือลักษณะที่ไม่อยู่ในสภาพเดิมได้ตลอดไป
ทุกขลักษณะ คือลักษณะที่ต้องทน
อนัตตลักษณะ คือลักษณะที่ไม่ใช่ตัวตนอมตะ
สิ่งปรุงแต่งก็คือ สิ่งที่ต้องอาศัยอิ่งอื่น(คือธาตุตามธรรมชาติ)มาปรุงแต่งสร้างขึ้นมา เมื่อมันถูกปรุงแต่งขึ้นมาแล้ว มันจะไม่สามารถดำรงค์อยู่ในสภาพเกิมได้ตลอดไป คือมันจะต้องแตก(ใช้กับวัตถุ)หรือดับ(ใช้กับพวกจิต) ไปในที่สุดไม่ช้าก็เร็ว(อนิจจัง) แม้ขณะที่กำลังดำรงค์อยู่ มันก็ต้องทนที่จะต้องประคับประคองตัวของมันเอาไว้ด้วยความยากลำบาก (ทุกขัง) และเมื่อมันเป็นสิ่งที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมา จึงหาตัวตนของมันเองไม่มี(อนัตตา)
นี่คือความเกี่ยวข้องระหว่างอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาที่ชาวพุทธควรรู้และเข้าใจ เพราะนี่คือหัวใจของปัญญาในอริยสัจ ๔ ที่จะนำมาประกอบกับสมาธิเพื่อดับทุกข์องจิตใจเราในปัจจุบัน ถ้ายังไม่เข้าใจจุดนี้ก็จะขาดปัญญามาช่วยดับทุกข์
ความเกี่ยวข้องระหว่าง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อนิจจลักษณะ คือลักษณะที่ไม่อยู่ในสภาพเดิมได้ตลอดไป
ทุกขลักษณะ คือลักษณะที่ต้องทน
อนัตตลักษณะ คือลักษณะที่ไม่ใช่ตัวตนอมตะ
สิ่งปรุงแต่งก็คือ สิ่งที่ต้องอาศัยอิ่งอื่น(คือธาตุตามธรรมชาติ)มาปรุงแต่งสร้างขึ้นมา เมื่อมันถูกปรุงแต่งขึ้นมาแล้ว มันจะไม่สามารถดำรงค์อยู่ในสภาพเกิมได้ตลอดไป คือมันจะต้องแตก(ใช้กับวัตถุ)หรือดับ(ใช้กับพวกจิต) ไปในที่สุดไม่ช้าก็เร็ว(อนิจจัง) แม้ขณะที่กำลังดำรงค์อยู่ มันก็ต้องทนที่จะต้องประคับประคองตัวของมันเอาไว้ด้วยความยากลำบาก (ทุกขัง) และเมื่อมันเป็นสิ่งที่ถูกปรุงแต่งขึ้นมา จึงหาตัวตนของมันเองไม่มี(อนัตตา)
นี่คือความเกี่ยวข้องระหว่างอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาที่ชาวพุทธควรรู้และเข้าใจ เพราะนี่คือหัวใจของปัญญาในอริยสัจ ๔ ที่จะนำมาประกอบกับสมาธิเพื่อดับทุกข์องจิตใจเราในปัจจุบัน ถ้ายังไม่เข้าใจจุดนี้ก็จะขาดปัญญามาช่วยดับทุกข์