ประมวลกฎหมายอาญา มีว่า
ความผิดสำเร็จแล้ว ครบองค์ประกอบ จะอ้างรัฐธรรมนูญไม่ได้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญไม่ได้กำหนดให้มีการนัดประท้วงหยุดงาน และไม่ได้เป็นการ "ชุมนุมอย่างสงบ" (เนื่องจากส่งเสียงดังรบกวนนักเรียน และปิดถนน)
ตอนนี้เห็นบอก สุเทพ ลาออกจาก ส.ส.แล้ว ไม่มีเอกสิทธิ์คุ้มครอง จึงฝากไว้สองเรื่อง
1. แจ้งความกองปราบตามนั้น
2. อัยการสูงสุดดำเนินการขอตัวเพื่อนัดส่งฟ้อง แม้ทนายความจำเลย จะขอเลื่อนนัดไปเป็นวันที่ 12 ธ.ค. เนื่องจากจำเลยทั้งสองอยู่ในสมัยประชุมสภา ฯ แต่ทีนี้ จำเลยคนหนึ่ง ได้ลาออกจากการเป็น ส.ส.แล้ว ขอให้อัยการ ฯ ดำเนินการได้เลย โดยไม่ต้องรอถึงวันที่ 12 ธ.ค.
ส่วนแกนนำพันธมิตร ฯ นั้น ฝากให้อัยการพิเศษ เร่งรัดคดี และยื่นต่อศาล ฯ ให้ถอนประกัน โดยนำบทเรียนจากไทกร มาเป็นข้อแก้ไข
และฝากถึงท่านที่ไปชุมนุมทุกท่าน ด้วยความเคารพในวินิจฉัยของแต่ละท่าน ถือว่าเป็นเอกสิทธิ์ในการจะไปชุมนุม แต่หากพิจารณาตามวรรค 2 จะเห็นว่า ใครก็ตามผละหรือหยุดงาน เพื่อร่วมกิจกรรมดังกล่าว มีโทษตามที่ระบุนะครับ
ทั้งนี้ รวมถึงพวกเจ้าของกิจการที่ให้ลูกจ้างพักงานไปประท้วงด้วย และ รวมถึงอธิการบดี ที่ให้นักศึกษาไปประท้วงด้วย (เพราะให้ลูกจ้าง คืออาจารย์หยุดงาน)
-------------------------------
เพิ่มเติมนะครับ
สำหรับการเรียกร้องให้ไม่ชำระภาษี
กรณีนี้ ตาม มาตรา 12 ของประมวลรัษฎากร ที่กำหนดให้มีการเสียภาษี มีบทลงโทษในมาตรา 37 ทวิ ว่าดังนี้ครับ
สำหรับบุคคลธรรมดา ที่ไปร่วมชุมนุม อาจจะยังไม่เข้าข่ายความผิดในลักษณะนี้ เนื่องจากยังไม่ถึงรอบที่จะต้องชำระภาษี ตาม ภงด.90 หรือ 91
แต่ถ้าเป็นห้างร้าน นิติบุคคล หรือบุคคล ที่จะต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ที่มีใบ ภพ.20) โดยตามกำหนด ท่านจะต้องชำระภาษี ฯ ทุกเดือน หากท่านไม่ชำระ ท่านมีความผิดนะครับ ก็เลือกเอาเองว่าจะเอาชีวิตหน้าที่การงานของท่าน ไปเสี่ยงเพื่อใครบางคนหรือไม่อย่างไร เพราะสุดท้าย คนที่ต้องเสียภาษี ก็คือตัวท่าน ไม่ใช่แกนนำ
และตาม ม.12 เขาถือว่าเป็นภาษีอากรคงค้าง เขาจะมาเรียกเก็บย้อนหลังท่าน เหมือนพวกดารานะครับ
แม้ล่าสุด สรรรพากร จะออกมาปฏิเสธว่า ไม่เก็บภาษีย้อนหลังกับดาราที่ขึ้นเวที แต่นั่นมันคนละประเด็นกันนะครับ
---------------------------
เพิ่มเติม เห็นคุณ ZeroHedge ถามมาเรื่อง มาตรา 113 ปอ. มันไม่ชัดเจนครับ การจะแจ้งข้อหาใด ต้องมีความชัดเจน ไม่อย่างนั้นหลุด เพราะ ม.113 บอกว่า "..หรือจะใช้กำลังประทุษร้าย.." ตรงนี้ยังไม่เข้าข่าย แต่ที่เข้าข่าย คือ ตามนี้ครับ
เพิ่มเติม ดูสีน้ำเงิน
***ฝากทีมกฎหมายเพื่อไทย..แจ้งความจับสุเทพ ตามนี้ครับ***
ความผิดสำเร็จแล้ว ครบองค์ประกอบ จะอ้างรัฐธรรมนูญไม่ได้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญไม่ได้กำหนดให้มีการนัดประท้วงหยุดงาน และไม่ได้เป็นการ "ชุมนุมอย่างสงบ" (เนื่องจากส่งเสียงดังรบกวนนักเรียน และปิดถนน)
ตอนนี้เห็นบอก สุเทพ ลาออกจาก ส.ส.แล้ว ไม่มีเอกสิทธิ์คุ้มครอง จึงฝากไว้สองเรื่อง
1. แจ้งความกองปราบตามนั้น
2. อัยการสูงสุดดำเนินการขอตัวเพื่อนัดส่งฟ้อง แม้ทนายความจำเลย จะขอเลื่อนนัดไปเป็นวันที่ 12 ธ.ค. เนื่องจากจำเลยทั้งสองอยู่ในสมัยประชุมสภา ฯ แต่ทีนี้ จำเลยคนหนึ่ง ได้ลาออกจากการเป็น ส.ส.แล้ว ขอให้อัยการ ฯ ดำเนินการได้เลย โดยไม่ต้องรอถึงวันที่ 12 ธ.ค.
ส่วนแกนนำพันธมิตร ฯ นั้น ฝากให้อัยการพิเศษ เร่งรัดคดี และยื่นต่อศาล ฯ ให้ถอนประกัน โดยนำบทเรียนจากไทกร มาเป็นข้อแก้ไข
และฝากถึงท่านที่ไปชุมนุมทุกท่าน ด้วยความเคารพในวินิจฉัยของแต่ละท่าน ถือว่าเป็นเอกสิทธิ์ในการจะไปชุมนุม แต่หากพิจารณาตามวรรค 2 จะเห็นว่า ใครก็ตามผละหรือหยุดงาน เพื่อร่วมกิจกรรมดังกล่าว มีโทษตามที่ระบุนะครับ
ทั้งนี้ รวมถึงพวกเจ้าของกิจการที่ให้ลูกจ้างพักงานไปประท้วงด้วย และ รวมถึงอธิการบดี ที่ให้นักศึกษาไปประท้วงด้วย (เพราะให้ลูกจ้าง คืออาจารย์หยุดงาน)
-------------------------------
เพิ่มเติมนะครับ
สำหรับการเรียกร้องให้ไม่ชำระภาษี
กรณีนี้ ตาม มาตรา 12 ของประมวลรัษฎากร ที่กำหนดให้มีการเสียภาษี มีบทลงโทษในมาตรา 37 ทวิ ว่าดังนี้ครับ
สำหรับบุคคลธรรมดา ที่ไปร่วมชุมนุม อาจจะยังไม่เข้าข่ายความผิดในลักษณะนี้ เนื่องจากยังไม่ถึงรอบที่จะต้องชำระภาษี ตาม ภงด.90 หรือ 91
แต่ถ้าเป็นห้างร้าน นิติบุคคล หรือบุคคล ที่จะต้องชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ที่มีใบ ภพ.20) โดยตามกำหนด ท่านจะต้องชำระภาษี ฯ ทุกเดือน หากท่านไม่ชำระ ท่านมีความผิดนะครับ ก็เลือกเอาเองว่าจะเอาชีวิตหน้าที่การงานของท่าน ไปเสี่ยงเพื่อใครบางคนหรือไม่อย่างไร เพราะสุดท้าย คนที่ต้องเสียภาษี ก็คือตัวท่าน ไม่ใช่แกนนำ
และตาม ม.12 เขาถือว่าเป็นภาษีอากรคงค้าง เขาจะมาเรียกเก็บย้อนหลังท่าน เหมือนพวกดารานะครับ
แม้ล่าสุด สรรรพากร จะออกมาปฏิเสธว่า ไม่เก็บภาษีย้อนหลังกับดาราที่ขึ้นเวที แต่นั่นมันคนละประเด็นกันนะครับ
---------------------------
เพิ่มเติม เห็นคุณ ZeroHedge ถามมาเรื่อง มาตรา 113 ปอ. มันไม่ชัดเจนครับ การจะแจ้งข้อหาใด ต้องมีความชัดเจน ไม่อย่างนั้นหลุด เพราะ ม.113 บอกว่า "..หรือจะใช้กำลังประทุษร้าย.." ตรงนี้ยังไม่เข้าข่าย แต่ที่เข้าข่าย คือ ตามนี้ครับ
เพิ่มเติม ดูสีน้ำเงิน