สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (ส.ส.ร.) เป็นสภาที่มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญนี้ ได้รับการสรรหามาจากสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จำนวน 1,982 คน ลงมติคัดเลือกกันเอง เหลือ 200 คน และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ทำการคัดเลือกเหลือ 100 คน แล้วเสร็จตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เพื่อนำรายชื่อขึ้นทูลเกล้า ฯ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 23 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 โดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ประธาน คมช. เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ[1]
สัดส่วนของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญชุดนี้ มาจากบุคคลในภาครัฐ 28 คน ภาคเอกชน 27 คน ภาคสังคม 23 คน และภาควิชาการ 22 คน หากจำแนกตามภูมิภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ 10 คน ภาคกลาง 68 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 คน และภาคใต้ 10 คน
สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จะคัดเลือกกันเองให้เหลือ จำนวน 25 คน และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิอีก 10 คน รวมเป็น 35 คน เพื่อทำหน้าที่เป็นคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
รายนามสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นายกนก โตสุรัตน์
นางกรรณิการ์ บันเทิงจิตร
นายกฤษฎา ให้วัฒนานุกูล
นายกล้านรงค์ จันทิก
นายการุณ ใสงาม
นายกิตติ ตีรเศรษฐ
นายเกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม - รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ คนที่ 2
นายเกียรติชัย พงษ์พาณิชย์
นายคมสัน โพธิ์คง
นายจรัญ ภักดีธนากุล
นายจรัส สุวรรณมาลา
นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี
นายเจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์
นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง
นาย ช.ชัยนาท ศรีเสมาเมือง
นายชนินทร์ บัวประเสริฐ
นายชวลิต หมื่นนุช
นายชาติชาย เจียมศรีพงษ์
นายชาติชาย แสงสุข
นายชาลี กางอิ่ม
นายชำนาญ ภูมิสัย
นายชูชัย ศุภวงศ์
นายโชคชัย อักษรนันท์
นายไชยยศ เหมะรัชตะ
นางดวงสุดา เตโชติรส
นายเดโช สวนานนท์ - รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ คนที่ 1
นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์
พลตำรวจโท ธรรมนิตย์ ปิตะนีละบุตร
นายธวัช บวรนิชยภูร
นายธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย
นายธีรวัฒน์ ร่มไทรทอง
นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์
นายนรนิติ เศรษฐบุตร - ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นายนิตย์ วังวิวัฒน์
นายนิมิต ชัยจีระธิกุล
นายนุรักษ์ มาประณีต
นายปกรณ์ ปรียากร
นายประดิษฐ์ เหลืองอร่าม
นายประพันธ์ นัยโกวิท
นายประวิทย์ อัครชิโนเรศ
นายประสงค์ พิทูรกิจจา
นายปริญญา ศิริสารการ
นางพรรณราย แสงวิเชียร
นางสาวพวงเพชร สารคุณ
นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
นายพิสิฐ ลี้อาธรรม
พลเรือเอกพีรศักดิ์ วัชรมูล
นายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์
นายไพโรจน์ พรหมสาส์น
นายมนตรี เพชรขุ้ม
นางมนูญศรี โชติเทวัณ
นายมานิจ สุขสมจิตร
พลตำรวจเอกมีชัย นุกูลกิจ
นายรัฐ ชูกลิ่น
นางรุจิรา เตชางกูร
นายวรากรณ์ สามโกเศศ (ลาออกเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550)
นายวัชรา หงส์ประภัศร
นายวิชัย รูปขำดี
นายวิชัย เรืองเริงกุลฤทธิ์
นายวิชัย ศรีขวัญ
นายวิชา มหาคุณ
นายวิทธยา บริบูรณ์ทรัพย์
นายวิทยา คชเขื่อน
นายวิทยา งานทวี
นายวิทวัส บุญญสถิตย์
นายวีนัส ม่านมุงศิลป์
นายวุฒิชาติ กัลยาณมิตร
นายวุฒิสาร ตันไชย
นายศรีราชา เจริญพานิช
นายศักดิ์ชัย อุ่นจิตติกุล
นายศักดิ์นรินทร์ เขื่อนอ้น
นายศิวะ แสงมณี
นายเศวต ทินกูล
นางสดศรี สัตยธรรม
นายสนั่น อินทรประเสริฐ
นายสมเกียรติ รอดเจริญ
นายสมคิด เลิศไพฑูรย์
นายสมชัย ฤชุพันธุ์
นายสมยศ สมวิวัฒน์ชัย
นายสวัสดิ์ โชติพานิช
นายสว่าง ภู่พัฒน์วิบูลย์
นายสวิง ตันอุด
นายสามขวัญ พนมขวัญ
นายสุนทร จันทร์รังสี
นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
นายสุรพล พงษ์ทัดศิริกุล
นายเสริมเกียรติ วรดิษฐ์
นายเสรี นิมะยุ
นายเสรี สุวรรณภานนท์
นายหลักชัย กิตติพล
นายอนุศาสน์ สุวรรณมงคล
นายอภิชาติ ดำดี
นายอรรครัตน์ รัตนจันทร์
นายอรัญ ธรรมโน
นางสาวอลิสา พันธุศักดิ์
นายอัครวิทย์ สุมาวงศ์
นางอังคณา นีละไพจิตร
นางสาวอาภา อรรถบูรณ์วงศ์
นายอุทิศ ชูช่วย
นายโอภาส เตพละกุล
นายโอรส วงษ์สิทธิ์ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 แทนนายวรากรณ์ สามโกเศศ)
สมคิด ณ มธ ต้านแก้ไข รธน 50 เป็นเรื่องปกติ เพราะเขาเป็นกรรมการร่าง เมื่อปี 50
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 (ส.ส.ร.) เป็นสภาที่มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญนี้ ได้รับการสรรหามาจากสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จำนวน 1,982 คน ลงมติคัดเลือกกันเอง เหลือ 200 คน และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ทำการคัดเลือกเหลือ 100 คน แล้วเสร็จตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เพื่อนำรายชื่อขึ้นทูลเกล้า ฯ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 23 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 โดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ประธาน คมช. เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ[1]
สัดส่วนของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญชุดนี้ มาจากบุคคลในภาครัฐ 28 คน ภาคเอกชน 27 คน ภาคสังคม 23 คน และภาควิชาการ 22 คน หากจำแนกตามภูมิภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ 10 คน ภาคกลาง 68 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 คน และภาคใต้ 10 คน
สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จะคัดเลือกกันเองให้เหลือ จำนวน 25 คน และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติจะคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิอีก 10 คน รวมเป็น 35 คน เพื่อทำหน้าที่เป็นคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
รายนามสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นายกนก โตสุรัตน์
นางกรรณิการ์ บันเทิงจิตร
นายกฤษฎา ให้วัฒนานุกูล
นายกล้านรงค์ จันทิก
นายการุณ ใสงาม
นายกิตติ ตีรเศรษฐ
นายเกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม - รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ คนที่ 2
นายเกียรติชัย พงษ์พาณิชย์
นายคมสัน โพธิ์คง
นายจรัญ ภักดีธนากุล
นายจรัส สุวรรณมาลา
นายจุตินันท์ ภิรมย์ภักดี
นายเจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์
นายเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง
นาย ช.ชัยนาท ศรีเสมาเมือง
นายชนินทร์ บัวประเสริฐ
นายชวลิต หมื่นนุช
นายชาติชาย เจียมศรีพงษ์
นายชาติชาย แสงสุข
นายชาลี กางอิ่ม
นายชำนาญ ภูมิสัย
นายชูชัย ศุภวงศ์
นายโชคชัย อักษรนันท์
นายไชยยศ เหมะรัชตะ
นางดวงสุดา เตโชติรส
นายเดโช สวนานนท์ - รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ คนที่ 1
นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์
พลตำรวจโท ธรรมนิตย์ ปิตะนีละบุตร
นายธวัช บวรนิชยภูร
นายธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย
นายธีรวัฒน์ ร่มไทรทอง
นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์
นายนรนิติ เศรษฐบุตร - ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นายนิตย์ วังวิวัฒน์
นายนิมิต ชัยจีระธิกุล
นายนุรักษ์ มาประณีต
นายปกรณ์ ปรียากร
นายประดิษฐ์ เหลืองอร่าม
นายประพันธ์ นัยโกวิท
นายประวิทย์ อัครชิโนเรศ
นายประสงค์ พิทูรกิจจา
นายปริญญา ศิริสารการ
นางพรรณราย แสงวิเชียร
นางสาวพวงเพชร สารคุณ
นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
นายพิสิฐ ลี้อาธรรม
พลเรือเอกพีรศักดิ์ วัชรมูล
นายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์
นายไพโรจน์ พรหมสาส์น
นายมนตรี เพชรขุ้ม
นางมนูญศรี โชติเทวัณ
นายมานิจ สุขสมจิตร
พลตำรวจเอกมีชัย นุกูลกิจ
นายรัฐ ชูกลิ่น
นางรุจิรา เตชางกูร
นายวรากรณ์ สามโกเศศ (ลาออกเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550)
นายวัชรา หงส์ประภัศร
นายวิชัย รูปขำดี
นายวิชัย เรืองเริงกุลฤทธิ์
นายวิชัย ศรีขวัญ
นายวิชา มหาคุณ
นายวิทธยา บริบูรณ์ทรัพย์
นายวิทยา คชเขื่อน
นายวิทยา งานทวี
นายวิทวัส บุญญสถิตย์
นายวีนัส ม่านมุงศิลป์
นายวุฒิชาติ กัลยาณมิตร
นายวุฒิสาร ตันไชย
นายศรีราชา เจริญพานิช
นายศักดิ์ชัย อุ่นจิตติกุล
นายศักดิ์นรินทร์ เขื่อนอ้น
นายศิวะ แสงมณี
นายเศวต ทินกูล
นางสดศรี สัตยธรรม
นายสนั่น อินทรประเสริฐ
นายสมเกียรติ รอดเจริญ
นายสมคิด เลิศไพฑูรย์
นายสมชัย ฤชุพันธุ์
นายสมยศ สมวิวัฒน์ชัย
นายสวัสดิ์ โชติพานิช
นายสว่าง ภู่พัฒน์วิบูลย์
นายสวิง ตันอุด
นายสามขวัญ พนมขวัญ
นายสุนทร จันทร์รังสี
นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
นายสุรพล พงษ์ทัดศิริกุล
นายเสริมเกียรติ วรดิษฐ์
นายเสรี นิมะยุ
นายเสรี สุวรรณภานนท์
นายหลักชัย กิตติพล
นายอนุศาสน์ สุวรรณมงคล
นายอภิชาติ ดำดี
นายอรรครัตน์ รัตนจันทร์
นายอรัญ ธรรมโน
นางสาวอลิสา พันธุศักดิ์
นายอัครวิทย์ สุมาวงศ์
นางอังคณา นีละไพจิตร
นางสาวอาภา อรรถบูรณ์วงศ์
นายอุทิศ ชูช่วย
นายโอภาส เตพละกุล
นายโอรส วงษ์สิทธิ์ (ได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2550 แทนนายวรากรณ์ สามโกเศศ)