มหาสติปัฏฐาน 4 นั้นมีหลายกรรมฐานในมหาสติปัฏฐาน 4 ซึ่งผมเองก็ปฏิบัติมาหลายกรรมฐานแล้วลงสู่สติปัฏฐาน 4 เช่นกัน
สำหรับผมนั้น มหาสติปัฏฐาน 4 ตามพระไตรปิฏกนั้นไม่ใช่เรื่องเป็น เฟ้อ เฝือ เกินไป ก็จากการที่ได้ปฏิบัติมาตั้งแต่วัยเด็ก เป็นต้นมาดังนี้.
1. เริ่มอายุ 10 กว่าปี สวดมนตร์ใหว้พระประจำทุกคืน แล้วเพ่งพระพุทธรูป เป็นพุทธานุสติ นั่งสมาธิตามประสาเด็ก รู้สึกตัวไปเรือยๆ และฝึกตนเองไม่ให้ใจลอย
2. เริ่มอายุ 15 ปี กำหนดลมหายใจ แบบ พุทธ-โธ เพ่งพระพุทธรูป เจริญทั้ง พุทธานุสติ ธรรมมานุสติ สังฆานุสติ จึงมีความรู้สึกตัวอยู่เนื่องๆ เริ่มคิดหรือพิจารณา เรื่อง ขันธ์ ตนเอง และเรื่องไตรลักษณ์
3. เริ่มอายุ 19 ปี มีอินทรีย์สังวร(สำรวมอินทรีย์) เจริญสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เนื่องๆ ฝึกอานาปานนุสติ เพ่งอาหาร แล้วกำหนดพุทธ-โธ ตลอดเมื่อระลึกได้ และเพ่งกสินไฟ ส่วนมากจะเป็นเปลวเทียน ตามแบบหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
4. เริ่มอายุ 23 ปี ปฏิบัติธรรมเป็นระบบครั้งแรกตามแบบ พองหนอ-ยุบหนอ ที่คณะ 5 วัดมหาธาตุท่าพระจันทร์ แต่ใช้ อานาปานสติ ผลมกัน เจริญทั้ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน และ วิปัสสนาญาณ ภายหลังทิ้งอานาปานสติ ปฏิบัติำกำหนดตามแบบ ยุบหนอ-พองหนอ อย่างเดียวแม้จะกำหนด ท้องพอง-ยุบ ไม่ได้ จึงใช้ "ยินหนอ" เป็นฐานหลักแทน เมือก่อนพักกรรมฐานก็เจริญ พรหมวิหาร 4 ข้อ เมตตา เมื่อปฏิบัติจนถึงที่สุด สละได้แม้ชีวิตพร้อมกับวิปัสสนาญาณที่เจริญยิ่งขึ้น เสมือนสิ้นชีวิต ดับสิ้นไปจริงๆ แต่เมื่อปรากฏขึ้นใหม่ ที่มีเพียงจิตอย่างเดียว กลับอยู่ใน ตติยฌาน สุขอย่างพระพรหม หลังจากนั้นเคลื่อนจากจุดเล็กๆ ขึ้นมารับรู้ ในโพรงของร่างกายก่อน แล้วค่อยรู้ชัดทั่วร่างกายและใจเป็นปกติ มีสุขถูกต้องทั้งกายและใจ เป็นประเภท กายสักขี หลังจากนั้น เมื่อกำหนดภาวนาเหมาะสม ก็จะ ดับ สิ้น ทันที่ทัใด เมื่อปรากฏก็ปรากฏชึ้นทันทีทันใด สติชัดทั้งร่างกาย.
6. เริ่มอายุ 28 ปี เริ่มนำอานาปานนุสสติมาใช้บ้าง แล้วปฏิบัติอุปสมานุสติ ได้สมบูรณ์ ว่างเป็นอย่างยิ่งๆ หลายคลา.
7. เริ่มอายุ 34 ปี ใช้อานาปานุสติ จนถึง ฌาน 4 แล้ววิปัสสนาญาญได้พัฒนาขึ้น เกือบถึงที่สุด
8. เริ่มอายุ 41 ปี เริ่มสนทนาธรรมในอินเตอร์เน็ต ได้ศึกษาพระไตรปิฏก อย่างแท้จริง เริ่มปฏิบัติอานาปานสติ ทั้ง 16 จาตุกะ ตามแบบพระไตรปิฏก สานต่อที่เคยค้างไว้เมื่อ อายุ 23 ปี ตอนบวชพระเมื่อวัยหนุ่ม อย่างสมบูรณ์
9. อายุเกือบ 52 ปี เฉียดตายด้วยเส้นเืลือดในสมองอุดตันเฉียบพลัน ดีที่เจริญสติมาอย่างดีที่ผ่านมาจึงมีสติรู้ตัวทันกระที่เชกำลังเดินไปเปิดประตู จึงพลิกตัวตามแรงที่เช เอาหลังยันประตูไว้แล้วปล่อยให้ครูดลงเองหมดสติไป จึงไม่ไปเพิ่มความดันเพราะการล้มกระแทกเส้นเลือดในสมองจึงไม่แตก แต่เกิดสภาวะเป็นอัมพาต อัมพฤต ภายใน 24 ชั่วโมง เห็นทุกข์ในสังขารเป็นอย่างยิ่ง จึงเริ่มกำหนดกรรมฐานอย่างดีและละเีอียดปรานิต ทั้งแต่เจริญ พุทธานุสติ ธรรมานุสติ สังฆานุสติ พรหมวิหาร 4 ข้อ เมตตา และ อุเบกขา แล้วกำหนดภาวนาตามแบบ หนอ กับกายและใจ ที่ปราฏก ในปัจจุบันนั้นๆ จึงมีสติสัมปชัญญะ เท่าทันกับ ผัสสะ >อายตนะ > นามรูป ทีเดียว คือแจ้งชัดใน ปฏิจจสมุทปบาท และ ไตรลักษณ์ หลังจากนั้นระลึกถึงพุทธพจน์ที่ควรนำำมาพิจารณา ก็ได้พุทธพจน์
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตา
ผู้มีปัญญาพึงพิจารณาว่า "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา"
เป็นฐานคำภาวนา รูปนาม ที่ปรากฏชัดกับกายและใจที่เป็นปัจจุบันนั้นๆ คำภาวนาเป็นไปเอง ก็จะเหลือ "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา" กับรูปนาม หรือ ปฏิจจสมุทปบาท ที่ปรากฏเป็นปัจจุบันขณะ นั้นๆ
เมื่อถึงที่สุดก็ ทิ้งกาย และความรู้สึก(ใจ)ไป เหลือเพียงแต่ มโนมายตนะพร้อมรู้ชัดว่า มโนมายตนะ "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา"
จึงเพิกทั้ง มโนมายตนะ และ สังขาร ก็สงบสันติยิ่งไม่มีกำหนดหมาย เสมือนรู้(ปัญญารู้)อยู่อย่างนั้น แต่ไม่ใช่ใจไม่ใช่จิต ดังเป็นอยู่อย่างรูปกับนามตามปกติ ยามจะกลับมารับรู้ "รูปนาม" จะปรากฏเ้ป็นจุดเล็กๆ ก่อนแล้วคอยเคลื่อนขยายจากจุดเล็กๆ เป็น รูปนาม ที่ชัดขึ้นในโพรงของร่างกาย จนรู้ชัดทั้วร่างกายและใจ ที่นั่งสมาธิอยู่ ในโรงพยายบาลหลังออกจากห้อง ไอชียู ในคืนแรกนั้นเอง
เป็นอันว่า ผมปฏิบัติกรรมฐาน รวมกัน นั้นหลายกรรมฐาน เป็นพื้นฐาน แต่เมื่อถึงที่สุด ก็จะคงเพียงกำหนดกรรมฐานเดียวเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นมหาสติปัฏฐาน 4 ที่มีในพระไตรปิฏกนั้นหาได้ เฟ้อ เฝือ เกินไป สำหรับผม
มหาสติปัฏฐาน 4 นั้นมีหลายกรรมฐานในมหาสติปัฏฐาน 4 ซึ่งผมเองก็ปฏิบัติมาหลายกรรมฐานแล้วลงสู่สติปัฏฐาน 4 เช่นกัน
สำหรับผมนั้น มหาสติปัฏฐาน 4 ตามพระไตรปิฏกนั้นไม่ใช่เรื่องเป็น เฟ้อ เฝือ เกินไป ก็จากการที่ได้ปฏิบัติมาตั้งแต่วัยเด็ก เป็นต้นมาดังนี้.
1. เริ่มอายุ 10 กว่าปี สวดมนตร์ใหว้พระประจำทุกคืน แล้วเพ่งพระพุทธรูป เป็นพุทธานุสติ นั่งสมาธิตามประสาเด็ก รู้สึกตัวไปเรือยๆ และฝึกตนเองไม่ให้ใจลอย
2. เริ่มอายุ 15 ปี กำหนดลมหายใจ แบบ พุทธ-โธ เพ่งพระพุทธรูป เจริญทั้ง พุทธานุสติ ธรรมมานุสติ สังฆานุสติ จึงมีความรู้สึกตัวอยู่เนื่องๆ เริ่มคิดหรือพิจารณา เรื่อง ขันธ์ ตนเอง และเรื่องไตรลักษณ์
3. เริ่มอายุ 19 ปี มีอินทรีย์สังวร(สำรวมอินทรีย์) เจริญสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เนื่องๆ ฝึกอานาปานนุสติ เพ่งอาหาร แล้วกำหนดพุทธ-โธ ตลอดเมื่อระลึกได้ และเพ่งกสินไฟ ส่วนมากจะเป็นเปลวเทียน ตามแบบหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
4. เริ่มอายุ 23 ปี ปฏิบัติธรรมเป็นระบบครั้งแรกตามแบบ พองหนอ-ยุบหนอ ที่คณะ 5 วัดมหาธาตุท่าพระจันทร์ แต่ใช้ อานาปานสติ ผลมกัน เจริญทั้ง ปฐมฌาน ทุติยฌาน และ วิปัสสนาญาณ ภายหลังทิ้งอานาปานสติ ปฏิบัติำกำหนดตามแบบ ยุบหนอ-พองหนอ อย่างเดียวแม้จะกำหนด ท้องพอง-ยุบ ไม่ได้ จึงใช้ "ยินหนอ" เป็นฐานหลักแทน เมือก่อนพักกรรมฐานก็เจริญ พรหมวิหาร 4 ข้อ เมตตา เมื่อปฏิบัติจนถึงที่สุด สละได้แม้ชีวิตพร้อมกับวิปัสสนาญาณที่เจริญยิ่งขึ้น เสมือนสิ้นชีวิต ดับสิ้นไปจริงๆ แต่เมื่อปรากฏขึ้นใหม่ ที่มีเพียงจิตอย่างเดียว กลับอยู่ใน ตติยฌาน สุขอย่างพระพรหม หลังจากนั้นเคลื่อนจากจุดเล็กๆ ขึ้นมารับรู้ ในโพรงของร่างกายก่อน แล้วค่อยรู้ชัดทั่วร่างกายและใจเป็นปกติ มีสุขถูกต้องทั้งกายและใจ เป็นประเภท กายสักขี หลังจากนั้น เมื่อกำหนดภาวนาเหมาะสม ก็จะ ดับ สิ้น ทันที่ทัใด เมื่อปรากฏก็ปรากฏชึ้นทันทีทันใด สติชัดทั้งร่างกาย.
6. เริ่มอายุ 28 ปี เริ่มนำอานาปานนุสสติมาใช้บ้าง แล้วปฏิบัติอุปสมานุสติ ได้สมบูรณ์ ว่างเป็นอย่างยิ่งๆ หลายคลา.
7. เริ่มอายุ 34 ปี ใช้อานาปานุสติ จนถึง ฌาน 4 แล้ววิปัสสนาญาญได้พัฒนาขึ้น เกือบถึงที่สุด
8. เริ่มอายุ 41 ปี เริ่มสนทนาธรรมในอินเตอร์เน็ต ได้ศึกษาพระไตรปิฏก อย่างแท้จริง เริ่มปฏิบัติอานาปานสติ ทั้ง 16 จาตุกะ ตามแบบพระไตรปิฏก สานต่อที่เคยค้างไว้เมื่อ อายุ 23 ปี ตอนบวชพระเมื่อวัยหนุ่ม อย่างสมบูรณ์
9. อายุเกือบ 52 ปี เฉียดตายด้วยเส้นเืลือดในสมองอุดตันเฉียบพลัน ดีที่เจริญสติมาอย่างดีที่ผ่านมาจึงมีสติรู้ตัวทันกระที่เชกำลังเดินไปเปิดประตู จึงพลิกตัวตามแรงที่เช เอาหลังยันประตูไว้แล้วปล่อยให้ครูดลงเองหมดสติไป จึงไม่ไปเพิ่มความดันเพราะการล้มกระแทกเส้นเลือดในสมองจึงไม่แตก แต่เกิดสภาวะเป็นอัมพาต อัมพฤต ภายใน 24 ชั่วโมง เห็นทุกข์ในสังขารเป็นอย่างยิ่ง จึงเริ่มกำหนดกรรมฐานอย่างดีและละเีอียดปรานิต ทั้งแต่เจริญ พุทธานุสติ ธรรมานุสติ สังฆานุสติ พรหมวิหาร 4 ข้อ เมตตา และ อุเบกขา แล้วกำหนดภาวนาตามแบบ หนอ กับกายและใจ ที่ปราฏก ในปัจจุบันนั้นๆ จึงมีสติสัมปชัญญะ เท่าทันกับ ผัสสะ >อายตนะ > นามรูป ทีเดียว คือแจ้งชัดใน ปฏิจจสมุทปบาท และ ไตรลักษณ์ หลังจากนั้นระลึกถึงพุทธพจน์ที่ควรนำำมาพิจารณา ก็ได้พุทธพจน์
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตา
ผู้มีปัญญาพึงพิจารณาว่า "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา"
เป็นฐานคำภาวนา รูปนาม ที่ปรากฏชัดกับกายและใจที่เป็นปัจจุบันนั้นๆ คำภาวนาเป็นไปเอง ก็จะเหลือ "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา" กับรูปนาม หรือ ปฏิจจสมุทปบาท ที่ปรากฏเป็นปัจจุบันขณะ นั้นๆ
เมื่อถึงที่สุดก็ ทิ้งกาย และความรู้สึก(ใจ)ไป เหลือเพียงแต่ มโนมายตนะพร้อมรู้ชัดว่า มโนมายตนะ "นั้นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่ของเรา นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา"
จึงเพิกทั้ง มโนมายตนะ และ สังขาร ก็สงบสันติยิ่งไม่มีกำหนดหมาย เสมือนรู้(ปัญญารู้)อยู่อย่างนั้น แต่ไม่ใช่ใจไม่ใช่จิต ดังเป็นอยู่อย่างรูปกับนามตามปกติ ยามจะกลับมารับรู้ "รูปนาม" จะปรากฏเ้ป็นจุดเล็กๆ ก่อนแล้วคอยเคลื่อนขยายจากจุดเล็กๆ เป็น รูปนาม ที่ชัดขึ้นในโพรงของร่างกาย จนรู้ชัดทั้วร่างกายและใจ ที่นั่งสมาธิอยู่ ในโรงพยายบาลหลังออกจากห้อง ไอชียู ในคืนแรกนั้นเอง
เป็นอันว่า ผมปฏิบัติกรรมฐาน รวมกัน นั้นหลายกรรมฐาน เป็นพื้นฐาน แต่เมื่อถึงที่สุด ก็จะคงเพียงกำหนดกรรมฐานเดียวเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นมหาสติปัฏฐาน 4 ที่มีในพระไตรปิฏกนั้นหาได้ เฟ้อ เฝือ เกินไป สำหรับผม