1) บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเชิงบวกต่อวัดพระธรรมกาย
1.1 คำสอนเรื่องการสร้างบารมีของวัดพระธรรมกาย
โดยสรกานต์ ศรีตองอ่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand)
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=879
1.2 หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ
ฉบับวิชาการ:
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=444
ฉบับวิจัยย่อ:
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=443
ฉบับประชาชน:
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=1121
1.3 บทความเรื่อง “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ”ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระวักกลิ
โดย ดร.เมธี พิทักษ์ธีระธรรม
บทคัดย่อ
บทความนี้เริ่มต้นจากความช่างสงสัยในตัวข้าพเจ้ากระตุ้นความกระหายใคร่รู้เกี่ยวกับการเจริญภาวนา “พุทธานุสติ” ซึ่งในคัมภีร์ปกรณ์วิเสสชั้นหลัง เช่น วิสุทธิมรรค ได้นำการปฎิบัตินี้มาจัดไว้ในการฝึกสมาธิ โดยนำเสนอนัยของการตรึกระลึกถึง “พระพุทธคุณ” แต่อีกด้านหนึ่งใน ขุททกนิกาย ซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฎกก็มีการเจริญภาวนา “พุทธานุสติ” อีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นการตรึกระลึกนึกถึง “พระพุทธองค์” ซึ่งการเจริญภาวนาแบบนี้สามารถทำให้ไป “เห็น”พระพุทธองค์ได้ในสมาธิ และพบเห็นอย่างเด่นชัดในพระฝ่าย “ศรัทธาธิมุตตะ”
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160707
1.4 บทความเรื่อง ''การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย''
โดย โดย Pm.Wutthichai Wutthichayo ป.ธ.9
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาจิตในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) ศึกษารูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย และ 3) เปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย เป็นการวิจัยเชิงเอกสารจากพระไตรปิฎก คัมภีร์วิสุทธิมรรค และหนังสือด้านการปฏิบัติของ 5 สาย ผลการวิจัยพบว่า
ในพระไตรปิฎกมีการอธิบายหลักการพัฒนาจิตในรูปของกระบวนการที่เป็นไปตามระบบศีล สมาธิ ปัญญา มีวิธีการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนปรากฏอยู่ในอานาปานสติสูตร และสติปัฏฐานสูตร เป็นการปฏิบัติแบบวิถีนักบวช นอกจากนี้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคปรากฏการอธิบายขั้นตอนในการปฏิบัติตามระบบศีล สมาธิ ปัญญา มีวิธีการเจริญสมาธิด้วยกรรมฐาน 40 วิธี ต่อด้วยการเจริญวิปัสสนาตามหลักญาณ 16 ซึ่งเป็นการปฏิบัติแบบเข้มตามแบบแผน การปฏิบัติในพระไตรปิฎกและวิสุทธิมรรคต่างก็มีเป้าหมายเพื่อการบรรลุมรรค ผล และนิพพาน
จากการศึกษารูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย พบว่า 1) สายพุทโธ ใช้วิธีการภาวนาในระดับสมถะและพิจารณาธาตุขันธ์ในระดับวิปัสสนา เป็นการปฏิบัติแบบเข้ม 2) สายอานาปานสติใช้หลักอานาปานสติ 16 ขั้น เป็นการปฏิบัติแบบพื้นฐานและแบบเข้ม 3) สายพองหนอ-ยุบหนอ ใช้หลักสติปัฏฐาน เน้นดูอาการพองยุบของท้อง เป็นการปฏิบัติแบบเข้มอย่างมีแบบแผน 4) สายรูปนาม ใช้หลักสติปัฏฐานเน้นอิริยาบถ 4 เป็นการปฏิบัติแบบเข้ม และ 5) สายสัมมาอะระหัง ใช้นิมิตและคำภาวนา เป็นการปฏิบัติแบบทั่วไปและแบบเข้ม
รูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐานทั้ง 5 สายต่างมีต้นกำเนิดในพุทธศตวรรษที่ 25 มีรูปแบบการปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักปฏิบัติในคัมภีร์ และมุ่งเป้าหมายไปสู่การบรรลุมรรคผลนิพพานเช่นเดียวกัน โดยมีความแตกต่างกันเพียงเทคนิควิธีการปฏิบัติ ข้อวัตร วิธีการสอน และวิธีการวัดผล บางประการเท่านั้น
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/235805
2) มุมมองนักวิชาการบางท่านต่อวัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายที่ผมรู้จัก อะไรที่ทำให้ผมเปลี่ยนใจ ศ. ดร. สมภาร พรมทา ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.winnews.tv/news/3840
3) มุมมองท่านเสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย ต่อวัดพระธรรมกาย
ตอนที่ 1:
https://youtu.be/m7lc0tkBGDc?si=2T_zze3E7jWhwmc6
ตอนที่ 2:
https://youtu.be/r6lIDFjfj08?si=t-qUnIt5koN2gtLN
4) อื่น ๆ
4.1 ปัญหาเรื่องนิพพานโดยอาจารย์สมภาร พรมทา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
บบทความ:
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jbscu/article/view/170403
4.2 ปัญหาเรื่องนิพพานโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม ในหนังสืออริยธรรมเล่ม 40 หน้า 73
http://www.saddhadhamma.org/2010/file/ariyadham40.pdf
ธมฺมาภินนฺโท ภิกฺขุ 3/2/67
วัดพระธรรมกายในสายตาของข้าพเจ้า ตอนที่ 4
1.1 คำสอนเรื่องการสร้างบารมีของวัดพระธรรมกาย
โดยสรกานต์ ศรีตองอ่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand)
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=879
1.2 หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ
ฉบับวิชาการ: https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=444
ฉบับวิจัยย่อ: https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=443
ฉบับประชาชน:
https://kalyanamitra.org/book/index_dhammabook_detail.php?id=1121
1.3 บทความเรื่อง “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ”ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระวักกลิ
โดย ดร.เมธี พิทักษ์ธีระธรรม
บทคัดย่อ
บทความนี้เริ่มต้นจากความช่างสงสัยในตัวข้าพเจ้ากระตุ้นความกระหายใคร่รู้เกี่ยวกับการเจริญภาวนา “พุทธานุสติ” ซึ่งในคัมภีร์ปกรณ์วิเสสชั้นหลัง เช่น วิสุทธิมรรค ได้นำการปฎิบัตินี้มาจัดไว้ในการฝึกสมาธิ โดยนำเสนอนัยของการตรึกระลึกถึง “พระพุทธคุณ” แต่อีกด้านหนึ่งใน ขุททกนิกาย ซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฎกก็มีการเจริญภาวนา “พุทธานุสติ” อีกรูปแบบหนึ่งที่เป็นการตรึกระลึกนึกถึง “พระพุทธองค์” ซึ่งการเจริญภาวนาแบบนี้สามารถทำให้ไป “เห็น”พระพุทธองค์ได้ในสมาธิ และพบเห็นอย่างเด่นชัดในพระฝ่าย “ศรัทธาธิมุตตะ”
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160707
1.4 บทความเรื่อง ''การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย''
โดย โดย Pm.Wutthichai Wutthichayo ป.ธ.9
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาจิตในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) ศึกษารูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย และ 3) เปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย เป็นการวิจัยเชิงเอกสารจากพระไตรปิฎก คัมภีร์วิสุทธิมรรค และหนังสือด้านการปฏิบัติของ 5 สาย ผลการวิจัยพบว่า
ในพระไตรปิฎกมีการอธิบายหลักการพัฒนาจิตในรูปของกระบวนการที่เป็นไปตามระบบศีล สมาธิ ปัญญา มีวิธีการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอนปรากฏอยู่ในอานาปานสติสูตร และสติปัฏฐานสูตร เป็นการปฏิบัติแบบวิถีนักบวช นอกจากนี้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคปรากฏการอธิบายขั้นตอนในการปฏิบัติตามระบบศีล สมาธิ ปัญญา มีวิธีการเจริญสมาธิด้วยกรรมฐาน 40 วิธี ต่อด้วยการเจริญวิปัสสนาตามหลักญาณ 16 ซึ่งเป็นการปฏิบัติแบบเข้มตามแบบแผน การปฏิบัติในพระไตรปิฎกและวิสุทธิมรรคต่างก็มีเป้าหมายเพื่อการบรรลุมรรค ผล และนิพพาน
จากการศึกษารูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐาน 5 สายในสังคมไทย พบว่า 1) สายพุทโธ ใช้วิธีการภาวนาในระดับสมถะและพิจารณาธาตุขันธ์ในระดับวิปัสสนา เป็นการปฏิบัติแบบเข้ม 2) สายอานาปานสติใช้หลักอานาปานสติ 16 ขั้น เป็นการปฏิบัติแบบพื้นฐานและแบบเข้ม 3) สายพองหนอ-ยุบหนอ ใช้หลักสติปัฏฐาน เน้นดูอาการพองยุบของท้อง เป็นการปฏิบัติแบบเข้มอย่างมีแบบแผน 4) สายรูปนาม ใช้หลักสติปัฏฐานเน้นอิริยาบถ 4 เป็นการปฏิบัติแบบเข้ม และ 5) สายสัมมาอะระหัง ใช้นิมิตและคำภาวนา เป็นการปฏิบัติแบบทั่วไปและแบบเข้ม
รูปแบบการพัฒนาจิตของกรรมฐานทั้ง 5 สายต่างมีต้นกำเนิดในพุทธศตวรรษที่ 25 มีรูปแบบการปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักปฏิบัติในคัมภีร์ และมุ่งเป้าหมายไปสู่การบรรลุมรรคผลนิพพานเช่นเดียวกัน โดยมีความแตกต่างกันเพียงเทคนิควิธีการปฏิบัติ ข้อวัตร วิธีการสอน และวิธีการวัดผล บางประการเท่านั้น
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/235805
2) มุมมองนักวิชาการบางท่านต่อวัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายที่ผมรู้จัก อะไรที่ทำให้ผมเปลี่ยนใจ ศ. ดร. สมภาร พรมทา ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.winnews.tv/news/3840
3) มุมมองท่านเสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย ต่อวัดพระธรรมกาย
ตอนที่ 1: https://youtu.be/m7lc0tkBGDc?si=2T_zze3E7jWhwmc6
ตอนที่ 2: https://youtu.be/r6lIDFjfj08?si=t-qUnIt5koN2gtLN
4) อื่น ๆ
4.1 ปัญหาเรื่องนิพพานโดยอาจารย์สมภาร พรมทา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
บบทความ: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jbscu/article/view/170403
4.2 ปัญหาเรื่องนิพพานโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม ในหนังสืออริยธรรมเล่ม 40 หน้า 73
http://www.saddhadhamma.org/2010/file/ariyadham40.pdf
ธมฺมาภินนฺโท ภิกฺขุ 3/2/67