จากที่เคย ตัดต่อ ข้อความของท่าน(ปยุตโต)มาอ้างอย่างกึ่งดิบกึ่งดี เพื่อใช้ด่าท่านพุทธทาส
ทั้งๆ ที่ข้อความเหล่านั้นเป็นเรื่องของสำนักธรรมโกย มันก็เคยทำกันมาแล้วแท้ๆ
แต่เพียงแค่ผมนำ มติ หรือ อัตโนมัติ ของท่านปยุตโต มาอ้างอิงบ้าง เท่านั้น
เหล่าเม็ดมะขามก็ถึงกับ ดิ้นพล่าน กันเชียวหรือครับ ?
ทำไปทำมา มันจึงกลายเป็นว่า ถ้าหากข้อความไหน ถูกใจ พวกเม็ดมะขาม
คิดว่าสามารถนำมาใช้ "หลอกด่า" ท่านพุทธทาสได้ พวกมันก็จะรีบนำมาอ้าง
แต่พอเจอกับข้อความที่ค้านกับความเชื่อของพวกตน มันก็พร้อมที่จะบอกปัด หน้าตาเฉยว่า
ไม่สามารถนำ มติ หรือ อัตโนมัติ ของท่านปยุตโต มาใช้อ้างอิง หรือ คัดค้านขัดแย้งกับพุทธพจน์ได้
(๑) ถ้าพูดเฉพาะหลักการ ย่อมหมายความว่า นางคนนี้ กำลังกล่าวว่า คำอธิบายของท่านปยุตโต
ก็เป็นแค่เพียง มติ หรือ อัตโนมัติของภิกษุรูปหนึ่งเท่านั้น
ไม่สามารถใช้เป็นข้อยุติ หรือใช้ตัดสินความผิดถูกใดๆ หรือผู้ใดได้
และไม่จำเป็นว่า ชาวพุทธทุกคนจะต้องเชื่อตามเสมอไป ใช่หรือไม่ ?
เพราะหากเป็นเช่นนี้ ชาวพุทธทุกคน ย่อมมีสิทธิอันชอบธรรม ที่จะเห็นแย้งกับท่านปยุตโต ได้
โดยไม่ต้องพ่วงมากับคำว่า จาบจ้วง ล่วงเกิน ไม่เคารพ ฯลฯ เพียงเพราะมีความเห็นต่าง ใช่ หรือมิใช่ ?
(๒) ด้วยคำพูดดังกล่าวของนางคนนี้ ย่อมมหายความว่า ท่านปยุตโต ก็สามารถพูดผิด กล่าวผิด ได้เช่นกัน ใช่หรือไม่ ?
อีกทั้ง หากเมื่อ พวกเม็ดมะขาม มีความเห็นไม่ตรงกับ ท่านปยุตโต ชาวพุทธทั้งหลาย ควรเชื่อพวกเม็ดมะขาม มากกว่าท่านปยุตโต ใช่ไหม ?
ดังกรณี อปัณณกสูตร ซึ่ง ท่านปยุตโต กล่าวไว้ชัดเจนมากว่า พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรม ให้ผู้คนประพฤติธรรม โดย
(๑) ไม่ต้องอ้างนรกสวรรค์ และ (๒) ไม่ต้องยึดมั่นในความหวังผลที่จะมีในโลกหน้า
ซึ่งถ้าหาก นางคนนี้ มีความเชื่อมั่นว่า พวกมันมีความเข้าใจในพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร มากกว่า ท่านปยุตโต
มันก็ต้องหมายความว่า ท่านปยุตโต กำลังอธิบายพุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ให้ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร น่ะสิ !
เพราะ พวกเม็ดมะขาม เข้าใจเอาเองว่า มหาจัตตารีสกสูตร ระบุว่า สัมมาทิฐิ หมายถึง ผู้เชื่อว่า โลกนี้ มีจริง โลกหน้า มีจริง
แต่ท่านปยุตโต กลับกล่าวในทางตรงข้ามว่า สามารถประพฤติธรรม ได้โดยไม่ต้องเชื่อเรื่อง โลกนี้ โลกหน้า ฯลฯ ก็ได้
หรือมิใช่ ?
สรุปแล้ว
๑) ท่านปยุตโต อธิบายพุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร ซึ่งเป็นการอธิบายผิด หรือ
๒) ท่านปยุตโต อธิบายไม่ผิด แต่ พุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร หรือ
๓) ท่านปยุตโต มิได้อธิบายผิด พุทธพจน์ ก็มิได้ขัดกัน แต่เป็นเพราะพวกเม็ดมะขามอ่านพุทธพจน์ไม่รู้เรื่องเอง
จึงเข้าใจ(ผิด)ไปเองว่า ท่านปยุตโตอธิบายผิด หรือ พุทธพจน์ขัดแย้งกัน ซึ่งไม่เป็นความจริง !
คำของท่านปยุตโต ไม่มีความหมาย และไม่จำเป็นต้องเชื่อก็ได้
ทั้งๆ ที่ข้อความเหล่านั้นเป็นเรื่องของสำนักธรรมโกย มันก็เคยทำกันมาแล้วแท้ๆ
แต่เพียงแค่ผมนำ มติ หรือ อัตโนมัติ ของท่านปยุตโต มาอ้างอิงบ้าง เท่านั้น
เหล่าเม็ดมะขามก็ถึงกับ ดิ้นพล่าน กันเชียวหรือครับ ?
ทำไปทำมา มันจึงกลายเป็นว่า ถ้าหากข้อความไหน ถูกใจ พวกเม็ดมะขาม
คิดว่าสามารถนำมาใช้ "หลอกด่า" ท่านพุทธทาสได้ พวกมันก็จะรีบนำมาอ้าง
แต่พอเจอกับข้อความที่ค้านกับความเชื่อของพวกตน มันก็พร้อมที่จะบอกปัด หน้าตาเฉยว่า
ไม่สามารถนำ มติ หรือ อัตโนมัติ ของท่านปยุตโต มาใช้อ้างอิง หรือ คัดค้านขัดแย้งกับพุทธพจน์ได้
(๑) ถ้าพูดเฉพาะหลักการ ย่อมหมายความว่า นางคนนี้ กำลังกล่าวว่า คำอธิบายของท่านปยุตโต
ก็เป็นแค่เพียง มติ หรือ อัตโนมัติของภิกษุรูปหนึ่งเท่านั้น
ไม่สามารถใช้เป็นข้อยุติ หรือใช้ตัดสินความผิดถูกใดๆ หรือผู้ใดได้
และไม่จำเป็นว่า ชาวพุทธทุกคนจะต้องเชื่อตามเสมอไป ใช่หรือไม่ ?
เพราะหากเป็นเช่นนี้ ชาวพุทธทุกคน ย่อมมีสิทธิอันชอบธรรม ที่จะเห็นแย้งกับท่านปยุตโต ได้
โดยไม่ต้องพ่วงมากับคำว่า จาบจ้วง ล่วงเกิน ไม่เคารพ ฯลฯ เพียงเพราะมีความเห็นต่าง ใช่ หรือมิใช่ ?
(๒) ด้วยคำพูดดังกล่าวของนางคนนี้ ย่อมมหายความว่า ท่านปยุตโต ก็สามารถพูดผิด กล่าวผิด ได้เช่นกัน ใช่หรือไม่ ?
อีกทั้ง หากเมื่อ พวกเม็ดมะขาม มีความเห็นไม่ตรงกับ ท่านปยุตโต ชาวพุทธทั้งหลาย ควรเชื่อพวกเม็ดมะขาม มากกว่าท่านปยุตโต ใช่ไหม ?
ดังกรณี อปัณณกสูตร ซึ่ง ท่านปยุตโต กล่าวไว้ชัดเจนมากว่า พระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรม ให้ผู้คนประพฤติธรรม โดย
(๑) ไม่ต้องอ้างนรกสวรรค์ และ (๒) ไม่ต้องยึดมั่นในความหวังผลที่จะมีในโลกหน้า
ซึ่งถ้าหาก นางคนนี้ มีความเชื่อมั่นว่า พวกมันมีความเข้าใจในพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร มากกว่า ท่านปยุตโต
มันก็ต้องหมายความว่า ท่านปยุตโต กำลังอธิบายพุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ให้ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร น่ะสิ !
เพราะ พวกเม็ดมะขาม เข้าใจเอาเองว่า มหาจัตตารีสกสูตร ระบุว่า สัมมาทิฐิ หมายถึง ผู้เชื่อว่า โลกนี้ มีจริง โลกหน้า มีจริง
แต่ท่านปยุตโต กลับกล่าวในทางตรงข้ามว่า สามารถประพฤติธรรม ได้โดยไม่ต้องเชื่อเรื่อง โลกนี้ โลกหน้า ฯลฯ ก็ได้
หรือมิใช่ ?
สรุปแล้ว
๑) ท่านปยุตโต อธิบายพุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร ซึ่งเป็นการอธิบายผิด หรือ
๒) ท่านปยุตโต อธิบายไม่ผิด แต่ พุทธพจน์จาก อปัณณกสูตร ขัดกับพุทธพจน์จาก มหาจัตตารีสกสูตร หรือ
๓) ท่านปยุตโต มิได้อธิบายผิด พุทธพจน์ ก็มิได้ขัดกัน แต่เป็นเพราะพวกเม็ดมะขามอ่านพุทธพจน์ไม่รู้เรื่องเอง
จึงเข้าใจ(ผิด)ไปเองว่า ท่านปยุตโตอธิบายผิด หรือ พุทธพจน์ขัดแย้งกัน ซึ่งไม่เป็นความจริง !