เห็นการโชว์(โง่)ของคนพวกนี้แล้ว ละเหี่ยใจจริงๆ
แจกวิภัตติ ปัจจัย สารพัด พูดพล่ามมาเสียมากมาย
แต่สรุปแล้ว มันได้อะไรขึ้นมาบ้าง ?
คำตอบ ก็คือ ไม่มี !
คำว่า ท้องป่อง นี้ผมแปลเองครับ เพราะผมชอบคำนี้ จนแม้แต่คำว่า อุ้มท้อง นี่ผมก็แปลเอง
ก็เหมือนกับที่ อรรถกถาจารย์แปลเอาเองว่า คพฺภสฺส หมายถึง สัตว์ผู้มาเกิด นั่นแหละ
ชาวพุทธเชื่อคำแปลของอรรถกถาจารย์ ได้ไหมเล่า ?
เพราะถ้าเชื่อคำแปลแบบนั้นได้ ทำไมจึงจะเชื่อคำแปลของผมไม่ได้ล่ะ ?
หากถามว่า ผมเอาคำว่า ป่อง มาจากไหน ?
ก็นั่นน่ะสิ ลองไปถามไอ้คนที่แจกวิภัตติ ดูทีสิว่า
ไอ้ที่มันมานั่งแจก แทบเป็นแทบตายนั่นน่ะ มันแจกมาทำไม ?
แล้วคำว่า อสฺส มันแปลว่า ป่อง ได้จริงๆ หรือ ?
หรือว่า ใครแปลอะไรมา มันก็สามารถ แจก ไปได้เรื่อยๆ แล้วก็รีบสรุปอย่างโง่ๆ ว่า แจกไม่ได้
อย่างนี้ ก็คงไม่แปลก ที่อรรถกถาจารย์ แปลอะไรมาให้ มันก็ต้องเชื่อตะพึดไป จริงไหม ?
ดังนั้น แทนที่จะมาแจกวิภัตติ อวดภูมิ(หางอึ่ง)อย่างโง่ๆ
ทำไม ไม่อธิบายให้ได้เล่าว่า อรรถกถาจารย์ แยกศัพท์อย่างไร
คพฺภสฺส จึงหมายถึง สัตว์ผู้มาเกิด ไปได้
คงไม่หลับหูหลับตาเชื่อเลยในทันที ใช่ไหม ?
เพราะที่จริงแล้ว นี่มันเป็นเพียงแค่ สมาส ธรรมดา
และมันก็ สมาส ไปตามหลักการปกติเท่าที่มีอยู่นั่นแหละ
เพียงแต่ว่า อสฺส มันเป็นคำศัพท์ที่เปลี่ยนรูปมาเท่านั้นเอง
ดังนั้น ประเด็นนี้ จึงไม่ต้องมาแจก นะครับ มันไม่ใช่เรื่องเลย
เลอะเทอะ จริงๆ
ส่วนประเด็นที่ว่า ผมเปลี่ยนรูปศัพท์อะไรมาเป็น อสฺส
อันนี้ เห็นทีว่า ต้องให้มันไปปรึกษาท่าน ๓ ประโยค เอาเองกระมัง !
ขอเตือนอีกสักหน่อยว่า พระบาลีนี้ แท้ที่จริงเป็นภาษาท้องถิ่นของชาวบ้านระดับรากหญ้า
แต่ถูกทำให้กลายเป็น สันสกฤต ในทางไวยากรณ์ในภายหลัง
ดังนั้น หากวิเคราะห์ศัพท์ โดยไม่ใส่ใจกับที่มาทางนิรุกติ หลักพุทธธรรม และบริบททางสังคมประวัติศาสตร์
บ่อยครั้งที่ แปลความจนเลยเถิดไปไกล จนอาจกลายเป็น มิจฉาทิฐิ เอาเลยด้วยซ้ำ
หากหวังจะเข้าใจพระบาลีอย่างลึกซึ้ง มันก็ต้อง ๑๘ ประโยคจริงๆ นั่นแหละ
มิเช่นนั้น ท่าน ๙ ประโยคทั้งหลายในสำนักธรรมโกย คงสำเร็จอรหันต์กันไปหมดแล้วน่ะสิ
หรือมิใช่ ?
และนี่ก็คือ ประเด็นสำคัญของปัญหา กล่าวคือ เอาเข้าจริงแล้ว ชาวพุทธจอมปลอมเหล่านี้
มันก็มิได้มีหลักการอะไรนักหรอก ที่จริง มันก็แค่เลือกว่า จะเชื่อใครดี ก็เท่านั้น
ลำพังแค่การเลือกว่าจะเชื่อใคร มันก็ยังมิใช่ปัญหา แต่ปัญหามันเกิดขึ้นมาเพราะ
พอมันเลือกว่าจะเชื่อ คนนี้ มันก็ถือสิทธิ์(จากไหนไม่ทราบ!) มาก่นด่าประณาม คนโน้น คนนั้น ฯลฯ ไปได้เรื่อยๆ
ทั้งนี้ ก็เพียงเพื่อจะปกป้อง ความเชื่อ ของพวกตนเอาไว้ให้ได้เท่านั้นเอง
ที่น่าสมเพช ก็คือ มันหลับหูหลับตาเชื่อเสียจนไม่รู้ว่า
ความเชื่อเหล่านั้น มันขัดแย้งกับพระบาลีพุทธพจน์
จากพระไตรปิฎก ที่พวกมันอ้างนักหนาว่าจะปกป้องนั่นแหละ
เอาเป็นว่า ในเมื่ออุตส่าห์โชว์(โง่) มาจนถึงขนาดนี้แล้ว ก็โชว์ต่อให้จบสิ
อย่าบอกนะว่า มีปัญญาทำได้แค่นี้ เพราะถ้าทำได้แค่นี้จริงๆ
ผมก็ไม่แปลกใจเลยว่า เหตุใดพระพุทธศาสนาในเมืองไทย จึงไม่มีความเจริญรุ่งเรืองในทางลึก
ประวัติศาสตร์ของไทยยาวนานเป็นพันปี กลับมีแต่ท่านพุทธทาส เปรียญ ๓ ประโยค
แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น ที่ผู้รู้นักปราชญ์ทั้งหลายในโลก ทั้งทางโลกและทางธรรม ต่างให้การยอมรับ
การศึกษาของไทย มันล้มเหลวจริงๆ !
สรุป
แล้วผมจะรอดูคำอธิบายนะครับว่า ผมแปลผิดได้อย่างไร และอรรถกถาจารย์แปลถูกได้อย่างไร ?
ด้วยวิธีการวิเคราะห์และตรวจสอบ อย่างเดียวกันนี่แหละ ขอความชัดเจนหน่อยนะครับ
อย่าทำอะไร ครึ่งๆ กลางๆ ล่ะ เดี๋ยวคนทั่วไปเขาจะเข้าใจผิดไปว่า
มันก็เพียงหวังว่า จะสามารถ ดิสเครดิต ผู้อื่นได้ โดยอาศัยเพียงแค่ ภูมิรู้ เล็กๆ น้อยๆ เท่าหางอึ่ง
ทั้งนี้ ก็เพื่อประโยชน์ทางสาธารณะแก่ชาวพุทธทั้งหลาย นะครับ
ปล. อย่าไปคิด(เอาเอง)สิว่า พอตนแก้ปัญหาศัพท์นี้ไม่ได้แล้ว
มันจะต้องหมายความว่า คนอื่นก็ทำไม่ได้ไปด้วย
จงอย่าพยายามผูกขาดความถูกต้องทุกอย่าง เอาไว้กับหางอึ่งของตนเอง
เพราะบางที มันก็อาจเป็นเหตุผลง่ายๆ ที่ว่า หางอึ่งของแก มันสั้นเกินไป ก็ได้นะ !
คริคริ
การแปลบาลี คพฺภสฺส = คพฺภ + อสฺส ที่มิได้เป็นปัญหาอะไรเลย
แจกวิภัตติ ปัจจัย สารพัด พูดพล่ามมาเสียมากมาย
แต่สรุปแล้ว มันได้อะไรขึ้นมาบ้าง ?
คำตอบ ก็คือ ไม่มี !
คำว่า ท้องป่อง นี้ผมแปลเองครับ เพราะผมชอบคำนี้ จนแม้แต่คำว่า อุ้มท้อง นี่ผมก็แปลเอง
ก็เหมือนกับที่ อรรถกถาจารย์แปลเอาเองว่า คพฺภสฺส หมายถึง สัตว์ผู้มาเกิด นั่นแหละ
ชาวพุทธเชื่อคำแปลของอรรถกถาจารย์ ได้ไหมเล่า ?
เพราะถ้าเชื่อคำแปลแบบนั้นได้ ทำไมจึงจะเชื่อคำแปลของผมไม่ได้ล่ะ ?
หากถามว่า ผมเอาคำว่า ป่อง มาจากไหน ?
ก็นั่นน่ะสิ ลองไปถามไอ้คนที่แจกวิภัตติ ดูทีสิว่า
ไอ้ที่มันมานั่งแจก แทบเป็นแทบตายนั่นน่ะ มันแจกมาทำไม ?
แล้วคำว่า อสฺส มันแปลว่า ป่อง ได้จริงๆ หรือ ?
หรือว่า ใครแปลอะไรมา มันก็สามารถ แจก ไปได้เรื่อยๆ แล้วก็รีบสรุปอย่างโง่ๆ ว่า แจกไม่ได้
อย่างนี้ ก็คงไม่แปลก ที่อรรถกถาจารย์ แปลอะไรมาให้ มันก็ต้องเชื่อตะพึดไป จริงไหม ?
ดังนั้น แทนที่จะมาแจกวิภัตติ อวดภูมิ(หางอึ่ง)อย่างโง่ๆ
ทำไม ไม่อธิบายให้ได้เล่าว่า อรรถกถาจารย์ แยกศัพท์อย่างไร
คพฺภสฺส จึงหมายถึง สัตว์ผู้มาเกิด ไปได้
คงไม่หลับหูหลับตาเชื่อเลยในทันที ใช่ไหม ?
เพราะที่จริงแล้ว นี่มันเป็นเพียงแค่ สมาส ธรรมดา
และมันก็ สมาส ไปตามหลักการปกติเท่าที่มีอยู่นั่นแหละ
เพียงแต่ว่า อสฺส มันเป็นคำศัพท์ที่เปลี่ยนรูปมาเท่านั้นเอง
ดังนั้น ประเด็นนี้ จึงไม่ต้องมาแจก นะครับ มันไม่ใช่เรื่องเลย
เลอะเทอะ จริงๆ
ส่วนประเด็นที่ว่า ผมเปลี่ยนรูปศัพท์อะไรมาเป็น อสฺส
อันนี้ เห็นทีว่า ต้องให้มันไปปรึกษาท่าน ๓ ประโยค เอาเองกระมัง !
ขอเตือนอีกสักหน่อยว่า พระบาลีนี้ แท้ที่จริงเป็นภาษาท้องถิ่นของชาวบ้านระดับรากหญ้า
แต่ถูกทำให้กลายเป็น สันสกฤต ในทางไวยากรณ์ในภายหลัง
ดังนั้น หากวิเคราะห์ศัพท์ โดยไม่ใส่ใจกับที่มาทางนิรุกติ หลักพุทธธรรม และบริบททางสังคมประวัติศาสตร์
บ่อยครั้งที่ แปลความจนเลยเถิดไปไกล จนอาจกลายเป็น มิจฉาทิฐิ เอาเลยด้วยซ้ำ
หากหวังจะเข้าใจพระบาลีอย่างลึกซึ้ง มันก็ต้อง ๑๘ ประโยคจริงๆ นั่นแหละ
มิเช่นนั้น ท่าน ๙ ประโยคทั้งหลายในสำนักธรรมโกย คงสำเร็จอรหันต์กันไปหมดแล้วน่ะสิ
หรือมิใช่ ?
และนี่ก็คือ ประเด็นสำคัญของปัญหา กล่าวคือ เอาเข้าจริงแล้ว ชาวพุทธจอมปลอมเหล่านี้
มันก็มิได้มีหลักการอะไรนักหรอก ที่จริง มันก็แค่เลือกว่า จะเชื่อใครดี ก็เท่านั้น
ลำพังแค่การเลือกว่าจะเชื่อใคร มันก็ยังมิใช่ปัญหา แต่ปัญหามันเกิดขึ้นมาเพราะ
พอมันเลือกว่าจะเชื่อ คนนี้ มันก็ถือสิทธิ์(จากไหนไม่ทราบ!) มาก่นด่าประณาม คนโน้น คนนั้น ฯลฯ ไปได้เรื่อยๆ
ทั้งนี้ ก็เพียงเพื่อจะปกป้อง ความเชื่อ ของพวกตนเอาไว้ให้ได้เท่านั้นเอง
ที่น่าสมเพช ก็คือ มันหลับหูหลับตาเชื่อเสียจนไม่รู้ว่า
ความเชื่อเหล่านั้น มันขัดแย้งกับพระบาลีพุทธพจน์
จากพระไตรปิฎก ที่พวกมันอ้างนักหนาว่าจะปกป้องนั่นแหละ
เอาเป็นว่า ในเมื่ออุตส่าห์โชว์(โง่) มาจนถึงขนาดนี้แล้ว ก็โชว์ต่อให้จบสิ
อย่าบอกนะว่า มีปัญญาทำได้แค่นี้ เพราะถ้าทำได้แค่นี้จริงๆ
ผมก็ไม่แปลกใจเลยว่า เหตุใดพระพุทธศาสนาในเมืองไทย จึงไม่มีความเจริญรุ่งเรืองในทางลึก
ประวัติศาสตร์ของไทยยาวนานเป็นพันปี กลับมีแต่ท่านพุทธทาส เปรียญ ๓ ประโยค
แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้น ที่ผู้รู้นักปราชญ์ทั้งหลายในโลก ทั้งทางโลกและทางธรรม ต่างให้การยอมรับ
การศึกษาของไทย มันล้มเหลวจริงๆ !
สรุป
แล้วผมจะรอดูคำอธิบายนะครับว่า ผมแปลผิดได้อย่างไร และอรรถกถาจารย์แปลถูกได้อย่างไร ?
ด้วยวิธีการวิเคราะห์และตรวจสอบ อย่างเดียวกันนี่แหละ ขอความชัดเจนหน่อยนะครับ
อย่าทำอะไร ครึ่งๆ กลางๆ ล่ะ เดี๋ยวคนทั่วไปเขาจะเข้าใจผิดไปว่า
มันก็เพียงหวังว่า จะสามารถ ดิสเครดิต ผู้อื่นได้ โดยอาศัยเพียงแค่ ภูมิรู้ เล็กๆ น้อยๆ เท่าหางอึ่ง
ทั้งนี้ ก็เพื่อประโยชน์ทางสาธารณะแก่ชาวพุทธทั้งหลาย นะครับ
ปล. อย่าไปคิด(เอาเอง)สิว่า พอตนแก้ปัญหาศัพท์นี้ไม่ได้แล้ว
มันจะต้องหมายความว่า คนอื่นก็ทำไม่ได้ไปด้วย
จงอย่าพยายามผูกขาดความถูกต้องทุกอย่าง เอาไว้กับหางอึ่งของตนเอง
เพราะบางที มันก็อาจเป็นเหตุผลง่ายๆ ที่ว่า หางอึ่งของแก มันสั้นเกินไป ก็ได้นะ !
คริคริ