เปิดเผย โฉมหน้ามาหมดแล้ว บรรดาที่ปรึกษาของ #16 ซึ่งความจริงแล้ว ก็ไม่น่าแปลกใจ
ล้วนแล้วแต่เป็นเจ้าประจำ แต่คนที่น่าขยักแขยงที่สุด คือ ที่ปรึกษาใหญ่
อดีตอธิการบดี ม.ธ สุรพล นิติไกรพจน์
ในอดีต ม. ธรรมศาสตร์ ได้ชื่อว่า เป็นศูยน์กลาง แห่งเสรีภาพ เป็นจุดรวมของ ประชาธิปไตย
อธิการบดี ในอดีต หลายท่าน เป็นปูชนียบุคคลของประเทศ เป็นนายกรัฐมนตรีก็หลายท่าน
ล้วนแล้วแต่ยืนเคียงข้าง ฝั่งประชาธิปไตย แต่มี อ้าย สุรพล นี่แหละที่ยอมรับใช้เผด็จการ
เพียงเพราะหวังตำแหน่งลาภยศ ยอมทรยศหลักการประชาธิปไตย ยอมเอาเกียรติภูมิอัน
ยิ่งใหญ่ของ ม.ธ แลกกับตำแหน่งต่ำๆ ที่เผด็จการให้มา ในอดีต ตำแหน่งอธิการบดี ม.ธ
บ่อยครั้งที่มีแคนนิเดตเป็นถึงนายกรัฐมนตรี และที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ท่าน ดร. ป๋วย อึ้งภากรณ์
ที่ไม่ยอมรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ยินดี รับตำแหน่ง อธิการบดี ม.ธ ตลอดชีวิตในการรับราชการ
ของ ดร. ป๋วย กล้าชนกับเผด็จการ คราวที่ท่านเป็น รองผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
จะทำการปรับ ธ.สหธนาคารกรุงเทพ ของจอมพล สฤษดิ์ เป็นเงินหลายล้านบาท จอมพล สฤษดิ์ ขอ
ให้ยกเลิกการปรับ แต่ ดร.ป๋วย ไม่ยอม สุดท้ายก็ปรับจนได้ อีกคราว ก็ไปขัดขวาง พล.ต.อ เผ่า เรื่องการ
จัดพิมพ์ ธนบัตร จน ค.ร.มต้องทำตาม ดร.ป๋วย สร้างความแค้นเคืองให้ พล.ต.อ เผ่า มาก
แม้กระทั่งคราว จอมพล ถนอม เรืองอำนาจ ดร.ป๋วย ก็กล้าที่จะเขียนกลอนเตือน จอมพล ถนอม ให้ถอน
หู้นออกจาก ธนาคาร เพราะท่านคิดว่าการที่นักการเมืองจะไปถือครองหุ้น มันไม่เหมาะ ซึ่ง
จอมพล ถนอมก็รับฟังแต่โดยดี จะเห็นได้ว่า ขอให้เป็นเรื่องที่ถูกต้อง ถึงจะเป็นเผด็จการใหญ่แค่ไหน
ดร.ป๋วย ก็ไม่ยอมสยบให้ ต่างจากอ้าย สุรพล เพียงเพื่อให้ได้ตำแหน่งยอมเป็นทาสรับใช้เผด็จการ
ถึงขนาดจะให้ในหลวงท่าน ใช้ ม.7 ให้มี นายก พระราชทาน จนในหลวงทรงตรัสว่า "มั่ว"
อ้ายนี่ยังไม่รู้สำนึก คราวปฏิวัติสำเร็จ ยังยอมไปเป็น ส.น.ช จนอาจารย์ และนักศึกษา ม.ธ
ทำจ.มเปิดผนึก ให้ลาออก แต่ก็ไม่ยอมลาออก และเมื่อครั้งรัฐบาล สมัคร สมชาย ก็ไปยุยง
ให้เกิด "อารยะขัดขืน" ซึ่งความจริงแล้วน่าจะเรียก "อันธพาลขัดขวาง"มากกว่า จนรัฐบาลที่
มาจากการเลือกตั้งต้องล้มไป เกิดเป็นรัฐบาลทรราชย์ ในค่ายทหารแทน มารผู้นี้ได้ปูนบำเหน็จ
ไปเป็นประธานบอร์ด อ.ส.ม.ท ความไม่รู้สึกผิดชอบชั่วดี ของมารผู้นี้ นักศึกษา จึงทำพิธี
"กรวดน้ำ คว่ำขัน" มาแล้ว บัดนี้ จะมาเป็น ที่ปรึกษาของ #16 ซึ่งดูเหมือนว่า ตำแหน่งจะ
ตกต่ำลงไปเรื่อยๆ ซึ่งไม่แน่ เลือกตั้งใหญ่ คราวหน้า มารอาจจะมีตำแหน่ง ที่ปรึกษา ของ
เลขา ของที่ปรึกษา หริโชค ก็ได้
เมื่อคราว ดร. ป๋วย โดนมรสุมการเมือง ปี 2519 จนต้องลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ และกลับมาเมืองไทย
ในปี 2530 ดร. ป๋วยได้มีโอกาศ กลับไปเยี่ยม ธรรมศาสตร์ ตลอด 2 ข้างทาง มีนักศึกษาชูป้ายต้อนรับ
มากมาย ป้ายนั้นมีข้อความว่า "ปลื้มใจนัก เตี่ยกลับบ้าน"
ถ้าเป็น อ้ายสุรพลคนนี้ ถ้ามีโอกาศกลับ ธรรมศาสตร์เมื่อไหร่ (แต่คิดว่ามารไม่กล้า)
อาจจะเจอป้ายข้อความดังนี้ "เสียใจนัก
กลับมา "
การที่ ปชป คัดคนอย่างนี้มาเป็นที่ปรึกษา ความจริงก็เหมาะสมสำหรับพรรคนี้แล้ว
เพราะฝักใฝ่เผด็จการ เหมือนกัน
ที่ปรึกษาของสุขุมพันธ์
ล้วนแล้วแต่เป็นเจ้าประจำ แต่คนที่น่าขยักแขยงที่สุด คือ ที่ปรึกษาใหญ่
อดีตอธิการบดี ม.ธ สุรพล นิติไกรพจน์
ในอดีต ม. ธรรมศาสตร์ ได้ชื่อว่า เป็นศูยน์กลาง แห่งเสรีภาพ เป็นจุดรวมของ ประชาธิปไตย
อธิการบดี ในอดีต หลายท่าน เป็นปูชนียบุคคลของประเทศ เป็นนายกรัฐมนตรีก็หลายท่าน
ล้วนแล้วแต่ยืนเคียงข้าง ฝั่งประชาธิปไตย แต่มี อ้าย สุรพล นี่แหละที่ยอมรับใช้เผด็จการ
เพียงเพราะหวังตำแหน่งลาภยศ ยอมทรยศหลักการประชาธิปไตย ยอมเอาเกียรติภูมิอัน
ยิ่งใหญ่ของ ม.ธ แลกกับตำแหน่งต่ำๆ ที่เผด็จการให้มา ในอดีต ตำแหน่งอธิการบดี ม.ธ
บ่อยครั้งที่มีแคนนิเดตเป็นถึงนายกรัฐมนตรี และที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ท่าน ดร. ป๋วย อึ้งภากรณ์
ที่ไม่ยอมรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ยินดี รับตำแหน่ง อธิการบดี ม.ธ ตลอดชีวิตในการรับราชการ
ของ ดร. ป๋วย กล้าชนกับเผด็จการ คราวที่ท่านเป็น รองผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
จะทำการปรับ ธ.สหธนาคารกรุงเทพ ของจอมพล สฤษดิ์ เป็นเงินหลายล้านบาท จอมพล สฤษดิ์ ขอ
ให้ยกเลิกการปรับ แต่ ดร.ป๋วย ไม่ยอม สุดท้ายก็ปรับจนได้ อีกคราว ก็ไปขัดขวาง พล.ต.อ เผ่า เรื่องการ
จัดพิมพ์ ธนบัตร จน ค.ร.มต้องทำตาม ดร.ป๋วย สร้างความแค้นเคืองให้ พล.ต.อ เผ่า มาก
แม้กระทั่งคราว จอมพล ถนอม เรืองอำนาจ ดร.ป๋วย ก็กล้าที่จะเขียนกลอนเตือน จอมพล ถนอม ให้ถอน
หู้นออกจาก ธนาคาร เพราะท่านคิดว่าการที่นักการเมืองจะไปถือครองหุ้น มันไม่เหมาะ ซึ่ง
จอมพล ถนอมก็รับฟังแต่โดยดี จะเห็นได้ว่า ขอให้เป็นเรื่องที่ถูกต้อง ถึงจะเป็นเผด็จการใหญ่แค่ไหน
ดร.ป๋วย ก็ไม่ยอมสยบให้ ต่างจากอ้าย สุรพล เพียงเพื่อให้ได้ตำแหน่งยอมเป็นทาสรับใช้เผด็จการ
ถึงขนาดจะให้ในหลวงท่าน ใช้ ม.7 ให้มี นายก พระราชทาน จนในหลวงทรงตรัสว่า "มั่ว"
อ้ายนี่ยังไม่รู้สำนึก คราวปฏิวัติสำเร็จ ยังยอมไปเป็น ส.น.ช จนอาจารย์ และนักศึกษา ม.ธ
ทำจ.มเปิดผนึก ให้ลาออก แต่ก็ไม่ยอมลาออก และเมื่อครั้งรัฐบาล สมัคร สมชาย ก็ไปยุยง
ให้เกิด "อารยะขัดขืน" ซึ่งความจริงแล้วน่าจะเรียก "อันธพาลขัดขวาง"มากกว่า จนรัฐบาลที่
มาจากการเลือกตั้งต้องล้มไป เกิดเป็นรัฐบาลทรราชย์ ในค่ายทหารแทน มารผู้นี้ได้ปูนบำเหน็จ
ไปเป็นประธานบอร์ด อ.ส.ม.ท ความไม่รู้สึกผิดชอบชั่วดี ของมารผู้นี้ นักศึกษา จึงทำพิธี
"กรวดน้ำ คว่ำขัน" มาแล้ว บัดนี้ จะมาเป็น ที่ปรึกษาของ #16 ซึ่งดูเหมือนว่า ตำแหน่งจะ
ตกต่ำลงไปเรื่อยๆ ซึ่งไม่แน่ เลือกตั้งใหญ่ คราวหน้า มารอาจจะมีตำแหน่ง ที่ปรึกษา ของ
เลขา ของที่ปรึกษา หริโชค ก็ได้
เมื่อคราว ดร. ป๋วย โดนมรสุมการเมือง ปี 2519 จนต้องลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ และกลับมาเมืองไทย
ในปี 2530 ดร. ป๋วยได้มีโอกาศ กลับไปเยี่ยม ธรรมศาสตร์ ตลอด 2 ข้างทาง มีนักศึกษาชูป้ายต้อนรับ
มากมาย ป้ายนั้นมีข้อความว่า "ปลื้มใจนัก เตี่ยกลับบ้าน"
ถ้าเป็น อ้ายสุรพลคนนี้ ถ้ามีโอกาศกลับ ธรรมศาสตร์เมื่อไหร่ (แต่คิดว่ามารไม่กล้า)
อาจจะเจอป้ายข้อความดังนี้ "เสียใจนัก กลับมา "
การที่ ปชป คัดคนอย่างนี้มาเป็นที่ปรึกษา ความจริงก็เหมาะสมสำหรับพรรคนี้แล้ว
เพราะฝักใฝ่เผด็จการ เหมือนกัน