ประเด็นหลัก
ปัจจุบันลูกค้าที่ค้างอยู่ในระบบซีดีเอ็มเอ แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน(โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 ราย
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า บริษัทจะใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท เป็นมาตรการเยียายาในการปิดระบบโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย โดยมีแผนปิดระบบดังกล่าวสิ้นเดือนมี.ค.นี้
เงินจำนวนดังกล่าวจะใช้ทำแคมเปญจูงใจลูกค้า "แคท ซีดีเอ็มเอ" ใน 51 จังหวัด ที่ค้างในระบบซีดีเอราว 1 ล้านราย แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน (โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 รายในการให้โปรโมชั่นแพ็คเกจ 3จีรวมเครื่องลูกข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
อย่างไรก็ดี คาดว่ามาตรการเยียวยาลูกค้าจะเริ่มได้เดือนก.พ.นี้ ซึ่งการที่ กสท จำเป็นต้องจูงใจให้ลูกค้ามาอยู่ในระบบใหม่ เพราะต้องการให้ลูกค้าได้รับบริการต่อเนื่อง แต่ต้องยอมรับว่า ลูกค้าที่ไม่ยอมเปลี่ยนมายังโครงข่ายใหม่ในแบรนด์ "มาย" เพราะลูกค้าพอใจโปรโมชั่นระบบซีดีเอ็มเอที่ได้รับ ดังนั้น กสท ต้องพยายามใช้งบจำนวนนี้ซับซิไดซ์ค่าเครื่องและแพ็คเกจ
"ปัจจุบันเราต้องเสียค่าบำรุงรักษาระบบซีดีเอ็มเอมากกว่าเดือนละ 70 ล้านบาท ขณะที่ลูกค้าใช้บริการลดลงเรื่อยๆ ดังนั้น กสท จำเป็นต้องเทงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาท มาเยียวลูกค้าให้โอนย้ายมายัง 'มาย' ทีเดียว และจะทำให้ กสท ให้บริการโทรศัพท์ในระบบเดียวคือ 3จีบนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์บนเทคโนโลยีจีเอสเอ็ม"
___________________________
กสทอัด 200 ล.ปิด "ซีดีเอ็มเอ" เยียวยาลูกค้า
กสท อัดกว่า200ล้านเยียวลูกค้ามือถือ "แคท ซีดีเอ็มเอ" 51 จังหวัด ค้างระบบเฉียด 1 ล้านราย ต้องใช้แคมเปญแรงซับซิไดซ์เครื่องพร้อมแพ็คเกจกระตุ้น
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า บริษัทจะใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท เป็นมาตรการเยียายาในการปิดระบบโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย โดยมีแผนปิดระบบดังกล่าวสิ้นเดือนมี.ค.นี้
เงินจำนวนดังกล่าวจะใช้ทำแคมเปญจูงใจลูกค้า "แคท ซีดีเอ็มเอ" ใน 51 จังหวัด ที่ค้างในระบบซีดีเอราว 1 ล้านราย แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน (โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 รายในการให้โปรโมชั่นแพ็คเกจ 3จีรวมเครื่องลูกข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
อย่างไรก็ดี คาดว่ามาตรการเยียวยาลูกค้าจะเริ่มได้เดือนก.พ.นี้ ซึ่งการที่ กสท จำเป็นต้องจูงใจให้ลูกค้ามาอยู่ในระบบใหม่ เพราะต้องการให้ลูกค้าได้รับบริการต่อเนื่อง แต่ต้องยอมรับว่า ลูกค้าที่ไม่ยอมเปลี่ยนมายังโครงข่ายใหม่ในแบรนด์ "มาย" เพราะลูกค้าพอใจโปรโมชั่นระบบซีดีเอ็มเอที่ได้รับ ดังนั้น กสท ต้องพยายามใช้งบจำนวนนี้ซับซิไดซ์ค่าเครื่องและแพ็คเกจ
"ปัจจุบันเราต้องเสียค่าบำรุงรักษาระบบซีดีเอ็มเอมากกว่าเดือนละ 70 ล้านบาท ขณะที่ลูกค้าใช้บริการลดลงเรื่อยๆ ดังนั้น กสท จำเป็นต้องเทงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาท มาเยียวลูกค้าให้โอนย้ายมายัง 'มาย' ทีเดียว และจะทำให้ กสท ให้บริการโทรศัพท์ในระบบเดียวคือ 3จีบนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์บนเทคโนโลยีจีเอสเอ็ม"
ส่วนแนวทางการแก้ไขสัญญา 3จีของกสทที่ทำร่วมกับบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์นั้น คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และทรู ไปแก้ไขสัญญาจำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ได้ลงนามแก้ไขสัญญาดังกล่าวเสร็จแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับ กทค. ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติ กทค. จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสท ต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า เข้าข่ายพ.ร.บ.ร่วมทุน ต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
"เราแก้ไขสัญญาทุกอย่างเสร็จไปหมดแล้ว พร้อมกับร่างสัญญาการทำตลาดร่วมกับทรูในรูปแบบใหม่ ซึ่งต้องรอความเห็นชอบจากครม.ไอซีที และสภาพัฒน์ฯ ความชัดเจนน่าจะได้เห็นภายใน 1-2 เดือนนี้ การที่เราปิด แคท ซีดีเอ็มเอ กสท จะมีคลื่นกลับคืนมาทำตลาด 3จีบน 850 ได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะเปิดให้มีผู้ทำตลาดแทนบนโครงข่ายเสมือน (เอ็มวีเอ็นโอ) เพิ่มขึ้นด้วย และเราก็จะเปิดหาพันธมิตรเอ็มวีเอ็นโอรายใหม่ไม่ใช่ทรูรายเดียว"
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ระบบซีดีเอ็มเอ 2000 วันเอ็กซ์ เปิดบริการในประเทศอย่างเป็นทางการวันที่ 27 ก.พ.2546 ซึ่งการทำตลาดแบ่งเป็นบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส (ฮัทช์) รับผิดชอบทำตลาด กทม.และภาคกลาง 25 จังหวัด กสท ทำตลาดแแบรนด์ "แคท ซีดีเอ็มเอ" พื้นที่ต่างหวัด 51 จังหวัด
ต่อมาทรูเข้าซื้อกิจการฮัทช์ 27 ม.ค.2554 ก็มีแผนปิดระบบซีดีเอ็มเอ เพราะไม่ได้รับความนิยมเท่าระบบจีเอสเอ็ม เพื่อมุ่งเน้นทำตลาด 3จีอย่างเต็มรูปแบบทั้งบนย่านความถี่ 850 และ 2100 เมกะเฮิรตซ์
ส่วนฮัทช์ ปัจจุบันบริหารโดยทรูมูฟมีลูกค้าค้างระบบ 40,000 ราย มีกำหนดปิดบริการสิ้นเดือนมี.ค. 2556
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130129/487843/%A1%CA%B7%CD%D1%B4-200-
%C5.%BB%D4%B4-%AB%D5%B4%D5%E0%CD%E7%C1%E0%CD-
%E0%C2%D5%C2%C7%C2%D2%C5%D9%A1%A4%E9%D2.html
(ก่อนปิดระบบสิ้นมี.ค.นี้)CATจัดหนัก!!เตรียม200ล้านบาทให้ลูกค้าCAT CDMAย้ายสู่ MY สนองทั้งค่าเครื่องและแพ็คเกจ
ปัจจุบันลูกค้าที่ค้างอยู่ในระบบซีดีเอ็มเอ แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน(โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 ราย
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า บริษัทจะใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท เป็นมาตรการเยียายาในการปิดระบบโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย โดยมีแผนปิดระบบดังกล่าวสิ้นเดือนมี.ค.นี้
เงินจำนวนดังกล่าวจะใช้ทำแคมเปญจูงใจลูกค้า "แคท ซีดีเอ็มเอ" ใน 51 จังหวัด ที่ค้างในระบบซีดีเอราว 1 ล้านราย แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน (โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 รายในการให้โปรโมชั่นแพ็คเกจ 3จีรวมเครื่องลูกข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
อย่างไรก็ดี คาดว่ามาตรการเยียวยาลูกค้าจะเริ่มได้เดือนก.พ.นี้ ซึ่งการที่ กสท จำเป็นต้องจูงใจให้ลูกค้ามาอยู่ในระบบใหม่ เพราะต้องการให้ลูกค้าได้รับบริการต่อเนื่อง แต่ต้องยอมรับว่า ลูกค้าที่ไม่ยอมเปลี่ยนมายังโครงข่ายใหม่ในแบรนด์ "มาย" เพราะลูกค้าพอใจโปรโมชั่นระบบซีดีเอ็มเอที่ได้รับ ดังนั้น กสท ต้องพยายามใช้งบจำนวนนี้ซับซิไดซ์ค่าเครื่องและแพ็คเกจ
"ปัจจุบันเราต้องเสียค่าบำรุงรักษาระบบซีดีเอ็มเอมากกว่าเดือนละ 70 ล้านบาท ขณะที่ลูกค้าใช้บริการลดลงเรื่อยๆ ดังนั้น กสท จำเป็นต้องเทงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาท มาเยียวลูกค้าให้โอนย้ายมายัง 'มาย' ทีเดียว และจะทำให้ กสท ให้บริการโทรศัพท์ในระบบเดียวคือ 3จีบนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์บนเทคโนโลยีจีเอสเอ็ม"
___________________________
กสทอัด 200 ล.ปิด "ซีดีเอ็มเอ" เยียวยาลูกค้า
กสท อัดกว่า200ล้านเยียวลูกค้ามือถือ "แคท ซีดีเอ็มเอ" 51 จังหวัด ค้างระบบเฉียด 1 ล้านราย ต้องใช้แคมเปญแรงซับซิไดซ์เครื่องพร้อมแพ็คเกจกระตุ้น
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสิรฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.กสท โทรคมนาคม กล่าวว่า บริษัทจะใช้งบประมาณ 200 ล้านบาท เป็นมาตรการเยียายาในการปิดระบบโทรศัพท์มือถือระบบซีดีเอ็มเอในประเทศไทย โดยมีแผนปิดระบบดังกล่าวสิ้นเดือนมี.ค.นี้
เงินจำนวนดังกล่าวจะใช้ทำแคมเปญจูงใจลูกค้า "แคท ซีดีเอ็มเอ" ใน 51 จังหวัด ที่ค้างในระบบซีดีเอราว 1 ล้านราย แบ่งเป็นลูกค้าในระบบรายเดือน (โพสต์เพด) 20,000 ราย และลูกค้าระบบเติมเงิน (พรีเพด) 90,000 รายในการให้โปรโมชั่นแพ็คเกจ 3จีรวมเครื่องลูกข่ายในระบบจีเอสเอ็ม
อย่างไรก็ดี คาดว่ามาตรการเยียวยาลูกค้าจะเริ่มได้เดือนก.พ.นี้ ซึ่งการที่ กสท จำเป็นต้องจูงใจให้ลูกค้ามาอยู่ในระบบใหม่ เพราะต้องการให้ลูกค้าได้รับบริการต่อเนื่อง แต่ต้องยอมรับว่า ลูกค้าที่ไม่ยอมเปลี่ยนมายังโครงข่ายใหม่ในแบรนด์ "มาย" เพราะลูกค้าพอใจโปรโมชั่นระบบซีดีเอ็มเอที่ได้รับ ดังนั้น กสท ต้องพยายามใช้งบจำนวนนี้ซับซิไดซ์ค่าเครื่องและแพ็คเกจ
"ปัจจุบันเราต้องเสียค่าบำรุงรักษาระบบซีดีเอ็มเอมากกว่าเดือนละ 70 ล้านบาท ขณะที่ลูกค้าใช้บริการลดลงเรื่อยๆ ดังนั้น กสท จำเป็นต้องเทงบประมาณจำนวน 200 ล้านบาท มาเยียวลูกค้าให้โอนย้ายมายัง 'มาย' ทีเดียว และจะทำให้ กสท ให้บริการโทรศัพท์ในระบบเดียวคือ 3จีบนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์บนเทคโนโลยีจีเอสเอ็ม"
ส่วนแนวทางการแก้ไขสัญญา 3จีของกสทที่ทำร่วมกับบมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น บนคลื่นความถี่ 850 เมกะเฮิรตซ์นั้น คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) มีมติให้ กสท และทรู ไปแก้ไขสัญญาจำนวน 6 ข้อตามมาตรา 46 แห่งพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) โดยที่ผ่านมา กสท ได้ลงนามแก้ไขสัญญาดังกล่าวเสร็จแล้ว
ดังนั้น จึงถือว่า ภาระผูกพันกับ กทค. ในการแก้สัญญากับกลุ่มทรูให้แล้วเสร็จตามมติ กทค. จึงสิ้นสุดลง ขั้นตอนต่อไป กสท ต้องส่งรายละเอียดโครงการ 3จีเอชเอสพีเอไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในสัญญาดังกล่าวว่า เข้าข่ายพ.ร.บ.ร่วมทุน ต้องส่งแผน และแนวทางการแก้ไขสัญญาให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที)
"เราแก้ไขสัญญาทุกอย่างเสร็จไปหมดแล้ว พร้อมกับร่างสัญญาการทำตลาดร่วมกับทรูในรูปแบบใหม่ ซึ่งต้องรอความเห็นชอบจากครม.ไอซีที และสภาพัฒน์ฯ ความชัดเจนน่าจะได้เห็นภายใน 1-2 เดือนนี้ การที่เราปิด แคท ซีดีเอ็มเอ กสท จะมีคลื่นกลับคืนมาทำตลาด 3จีบน 850 ได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะเปิดให้มีผู้ทำตลาดแทนบนโครงข่ายเสมือน (เอ็มวีเอ็นโอ) เพิ่มขึ้นด้วย และเราก็จะเปิดหาพันธมิตรเอ็มวีเอ็นโอรายใหม่ไม่ใช่ทรูรายเดียว"
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ระบบซีดีเอ็มเอ 2000 วันเอ็กซ์ เปิดบริการในประเทศอย่างเป็นทางการวันที่ 27 ก.พ.2546 ซึ่งการทำตลาดแบ่งเป็นบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส (ฮัทช์) รับผิดชอบทำตลาด กทม.และภาคกลาง 25 จังหวัด กสท ทำตลาดแแบรนด์ "แคท ซีดีเอ็มเอ" พื้นที่ต่างหวัด 51 จังหวัด
ต่อมาทรูเข้าซื้อกิจการฮัทช์ 27 ม.ค.2554 ก็มีแผนปิดระบบซีดีเอ็มเอ เพราะไม่ได้รับความนิยมเท่าระบบจีเอสเอ็ม เพื่อมุ่งเน้นทำตลาด 3จีอย่างเต็มรูปแบบทั้งบนย่านความถี่ 850 และ 2100 เมกะเฮิรตซ์
ส่วนฮัทช์ ปัจจุบันบริหารโดยทรูมูฟมีลูกค้าค้างระบบ 40,000 ราย มีกำหนดปิดบริการสิ้นเดือนมี.ค. 2556
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130129/487843/%A1%CA%B7%CD%D1%B4-200-
%C5.%BB%D4%B4-%AB%D5%B4%D5%E0%CD%E7%C1%E0%CD-
%E0%C2%D5%C2%C7%C2%D2%C5%D9%A1%A4%E9%D2.html