เนื่องจากหลายฝ่ายลงความเห็นว่า เขาพระวิหารเสีย เพราะ พรรค.ชปช
ผมว่าค่อนข้างจะไม่ถูกนัก ควรจะบอกว่าเสียในสมัย พรรค.ปชป ถึงจะถูกต้องกว่า
เพราะ สัญญาที่ ศาลโลก นำมาใช้ตัดสิน ร่างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2447 แล้ว
ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 ทางการไทยได้ขอให้ทางฝรั่งเศสทำแผนที่พรมแดน ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ขึ้นจำนวนหนึ่ง หนึ่งในนั้นเป็นแผนที่ที่ฝรั่งเศสลากเส้นเอาเขาพระวิหาร ซึ่งอยู่ในความครอบครองของประเทศไทย ไปอยู่ในฝั่งเขตแดนกัมพูชาของทางฝรั่งเศสด้วย โดยมิได้ยึดแนวสันปันน้ำเป็นเกณฑ์
รัฐบาลต่อมาก็ไม่ได้ทักทวงอะไร จนมาถึง พ.ศ. 2501 ความขัดแย้งระหว่างไทยกับกัมพูชารุนแรงขึ้น
และ เจ้านโรดมสีหนุ นายกรัฐมนตรีกัมพูชาขณะนั้น นำเรื่องขึ้นเสนอสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2502
จนนำไปสู่การสูญเสียเขาพระวิหาร
- ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม เนื่องจากศาลโลกยึดติดอยู่บนแผนที่ฉบับเดียว โดยที่ศาลโลกมิได้มีการตรวจสอบสถานที่อย่างจริงจังตามข้อตกลงไทย-ฝรั่งเศสอย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน
วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินแล้ว 20 กว่าวัน รัฐบาลไทยโดย ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือไปยัง นายอูถั่น เลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อประท้วงคำพิพากษาของศาลโลกโดยอ้างว่าคำพิพากษานั้นขัดต่อกฎหมายและความยุติธรรม นอกจากนี้ ยังสงวนสิทธิที่ประเทศไทยจะเรียกร้องปราสาทพระวิหารกลับคืนในอนาคต
ขอถามชัก 2 ข้อครับ
1. ตอนนี้แผนที่ไหนที่นานาชาติให้การยอมรับระหว่างแผนที่กัมพูชากับแผนที่ที่ไทยร่างขึ้นใหม่
2. ตอนนี้คำประท้วงยังมีผลไหมครับ ก่อนหรือหลังเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกไปแล้ว
ขอถามเรื่อง การเสียเขาพระวิหารในปี 2505 หน่อยครับ
ผมว่าค่อนข้างจะไม่ถูกนัก ควรจะบอกว่าเสียในสมัย พรรค.ปชป ถึงจะถูกต้องกว่า
เพราะ สัญญาที่ ศาลโลก นำมาใช้ตัดสิน ร่างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2447 แล้ว
ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 ทางการไทยได้ขอให้ทางฝรั่งเศสทำแผนที่พรมแดน ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ขึ้นจำนวนหนึ่ง หนึ่งในนั้นเป็นแผนที่ที่ฝรั่งเศสลากเส้นเอาเขาพระวิหาร ซึ่งอยู่ในความครอบครองของประเทศไทย ไปอยู่ในฝั่งเขตแดนกัมพูชาของทางฝรั่งเศสด้วย โดยมิได้ยึดแนวสันปันน้ำเป็นเกณฑ์
รัฐบาลต่อมาก็ไม่ได้ทักทวงอะไร จนมาถึง พ.ศ. 2501 ความขัดแย้งระหว่างไทยกับกัมพูชารุนแรงขึ้น
และ เจ้านโรดมสีหนุ นายกรัฐมนตรีกัมพูชาขณะนั้น นำเรื่องขึ้นเสนอสู่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2502
จนนำไปสู่การสูญเสียเขาพระวิหาร
- ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม เนื่องจากศาลโลกยึดติดอยู่บนแผนที่ฉบับเดียว โดยที่ศาลโลกมิได้มีการตรวจสอบสถานที่อย่างจริงจังตามข้อตกลงไทย-ฝรั่งเศสอย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน
วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินแล้ว 20 กว่าวัน รัฐบาลไทยโดย ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือไปยัง นายอูถั่น เลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อประท้วงคำพิพากษาของศาลโลกโดยอ้างว่าคำพิพากษานั้นขัดต่อกฎหมายและความยุติธรรม นอกจากนี้ ยังสงวนสิทธิที่ประเทศไทยจะเรียกร้องปราสาทพระวิหารกลับคืนในอนาคต
ขอถามชัก 2 ข้อครับ
1. ตอนนี้แผนที่ไหนที่นานาชาติให้การยอมรับระหว่างแผนที่กัมพูชากับแผนที่ที่ไทยร่างขึ้นใหม่
2. ตอนนี้คำประท้วงยังมีผลไหมครับ ก่อนหรือหลังเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกไปแล้ว