คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
ต้องแยกกันให้ออกคนละเรื่องครับ
ส่วนของค่าจ้างเขา ลูกจ้างทำงานจริง ก็เป็นสิทธิของลูกจ้างที่จะต้องได้รับค่าจ้าง เรื่องนี้เป็นข้อเท็จจริงตามกฎหมายอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องพิจารณาข้อกฎหมาย แต่เป็นผมจะถามผจก.และเจ้าของบริษัทกลับไปว่า มีข้อกฎหมายข้อไหน ที่บอกให้ไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง หากเขาได้ทำงานไปจริง
ส่วนในส่วนที่ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่ไปอย่างกระทันหันแล้วส่งผลกระทบใดๆต่อบริษัท เป็นหน้าที่ของนายจ้างที่ต้องไปรวบรวมความเสียหาย และเรียกร้องหรือฟ้องร้องเอากับลูกจ้างในภายหลัง จะไปถือวิสาสะไม่จ่ายค่าจ้างที่เขาได้ทำงานจริงไป มิได้ครับ
ส่วนของค่าจ้างเขา ลูกจ้างทำงานจริง ก็เป็นสิทธิของลูกจ้างที่จะต้องได้รับค่าจ้าง เรื่องนี้เป็นข้อเท็จจริงตามกฎหมายอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องพิจารณาข้อกฎหมาย แต่เป็นผมจะถามผจก.และเจ้าของบริษัทกลับไปว่า มีข้อกฎหมายข้อไหน ที่บอกให้ไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง หากเขาได้ทำงานไปจริง
ส่วนในส่วนที่ลูกจ้างละทิ้งหน้าที่ไปอย่างกระทันหันแล้วส่งผลกระทบใดๆต่อบริษัท เป็นหน้าที่ของนายจ้างที่ต้องไปรวบรวมความเสียหาย และเรียกร้องหรือฟ้องร้องเอากับลูกจ้างในภายหลัง จะไปถือวิสาสะไม่จ่ายค่าจ้างที่เขาได้ทำงานจริงไป มิได้ครับ
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
เจ้าของธุรกิจ
ทรัพยากรบุคคล
๐๐๐๐ ลูกจ้างขาดงานไปเฉยๆ ต้องจ่ายค่าจ้างหรือไม่ ๐๐๐๐
การขาดงานของลูกจ้างนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 579 ได้บัญญัติเกี่ยวกับเรื่องนี้เอาไว้ว่า...ผลของการที่ลูกจ้างขาดงานเป็นเวลาตั้งแต่ 3วันขึ้นไป โดยไม่มีเหตุอันควร ถือได้ว่าเป็นการจงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง ดังนั้นนายจ้างจึงมีสิทธิ
1. บอกเลิกสัญญาจ้างได้ทันที โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
>>>>>>>>>>>
พนักงานต้อนรับ ทำงานได้ 20 วัน
ขาดงานหายไปเฉยๆ ไม่แจ้งไม่โทร.ติดต่อ
ทราบภายหลังจากเพื่อนว่า ไปทำงานโรงแรมหาดเพราะมีเซอร์วิสดี
อยากทราบว่า ตามกฏหมายต้องจ่ายค่าแรงที่ได้ทำงาน 20 วันหรือไม่ ?