ประเด็นหลัก
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3 จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3 จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่ กสทช." นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางกาดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของเอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นายอุดม กล่าวอีกว่า แผนการพัฒนา 4จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือ ดำเนินการบนคลื่น 2.3 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ และหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นกลับไปที่ กสทช. โดยการพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3จี และ 4จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน และจะเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว นอกจากนี้ บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 2558 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป ซึ่งให้เวลาไปศึกษาและรายงานความคืบหน้าประมาณ 1 เดือน ขณะเดียวกันก็จะเร่งติดตามความเคลื่อนไหวอย้างต่อเนื่อง
ขณะที่ โครงการ 3จี เฟสแรก มูลค่า 1.6 หมื่นล้านบาท ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เตรียมหารือกับกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ผู้ติดตั้งโครงข่ายในวันที่ 25 ธ.ค.2555 เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จกว่า 1,000 สถานี ที่ตามแผนเดิมจะแล้วเสร็จทั้งหมดเดือน เม.ย.2556 ซึ่งช้าเกินไป เนื่องจากผู้ประกอบการเอกชนจะเปิดบริการ 3 จี ในเดือน มี.ค.2556 อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ทั้ง 3จี บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หรือ บรอดแบนด์ และบริการเสริมจากโทรศัพท์พื้นฐาน กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
_________________________________
บอร์ดทีโอที เมิน3จีเฟส2 เร่งเดินหน้า4จี
บอร์ดทีโอที เมิน 3จีเฟส 2 เร่งหารือ 4จี เหตุล่าช้ากว่าเอกชนที่ได้ไลเซ่นส์ 3จี กสทช. แล้ว พร้อมตั้งบอร์ด 3จี ควบ สั่งการบ้านบอร์ดวางยุทธศาสตร์ทางรอด รับมือสัมปทานสิ้นสุด ส่งเดือนหน้า...
เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร หรือ บอร์ด บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กล่าวภายหลังประชุมว่า วันนี้ บอร์ดมีนโยบายให้ทบทวนการดำเนินงาน 3จี โดยเฉพาะเรื่องการขยายโครงข่าย 3จี เฟส 2 นอกจากนี้ ยังหารือประเด็นเรื่องการดำเนินการเทคโนโลยี 4จี ในอนาคต เนื่องจากขณะนี้ 3จี ทีโอทีมีความล่าช้าไปมากแล้ว และเพื่อให้ทันกับผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตให้บริการ หรือ ไลเซ่นส์ 3จี คลื่น 2.1 กิกะเฮิรตซ์ จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. แล้ว และกำลังจะเดินหน้าขยายโครงข่ายต่อ
"ขณะนี้ 3จี ทีโอที มีความล่าช้ามากแล้ว และกำลังเดินหน้าขยายโครงข่าย 3จี ของตัวเอง ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ" ประธานบอร์ด ทีโอที กล่าว
นายอุดม กล่าวอีกว่า แผนการพัฒนา 4จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือ ดำเนินการบนคลื่น 2.3 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ และหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นกลับไปที่ กสทช. โดยการพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3จี และ 4จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน และจะเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว นอกจากนี้ บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 2558 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป ซึ่งให้เวลาไปศึกษาและรายงานความคืบหน้าประมาณ 1 เดือน ขณะเดียวกันก็จะเร่งติดตามความเคลื่อนไหวอย้างต่อเนื่อง
ขณะที่ โครงการ 3จี เฟสแรก มูลค่า 1.6 หมื่นล้านบาท ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เตรียมหารือกับกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ผู้ติดตั้งโครงข่ายในวันที่ 25 ธ.ค.2555 เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จกว่า 1,000 สถานี ที่ตามแผนเดิมจะแล้วเสร็จทั้งหมดเดือน เม.ย.2556 ซึ่งช้าเกินไป เนื่องจากผู้ประกอบการเอกชนจะเปิดบริการ 3 จี ในเดือน มี.ค.2556 อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ทั้ง 3จี บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หรือ บรอดแบนด์ และบริการเสริมจากโทรศัพท์พื้นฐาน กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/314447_________________________________
บอร์ดทีโอทีสั่งทบทวน 3G เฟส 2 หลังเฟสแรกล่าช้า แนะหันพัฒนา 4G ดีกว่า
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 19 ธันวาคม 2555 17:59:47 น.
นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ทีโอที เปิดเผยว่า จากการที่ปัจจุบันคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.)ได้มอบใบอนุญาต(ไลเซ่นส์) 3จี บนคลื่น 2.1 GHz ให้กับเอกชนแล้ว ขณะนี้เอกชนทั้ง 3 รายได้เดินหน้านำเข้าอุปกรณ์และประกาศจะเริ่มให้บริการ 3จี ภายในไตรมาส 2/56
ขณะที่ความล่าช้าของการดำเนินงาน 3จี ของทีโอที เฟส 1 ที่ปัจจุบันยังติดตั้งโครงข่ายไม่ครบจำนวนสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานี ดังนั้น คณะกรรมการจึงมีนโยบายให้ทบทวนโครงการขยายโครงข่าย 3จี เฟส 2 มูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาท ด้วยการปรับปรุงและมุ่งเน้นไปที่เทคโนโลยี LTE หรือ 4จี ซึ่งทีโอทีสามารถนำคลื่นความถี่ที่มีอยู่ปัจจุบันมาทำได้ ถือว่าเป็นเทคโนโลยีอนาคตมากกว่าที่จะเดินหน้า 3 จีต่อ เพื่อให้สามารถแข่งขันและรองรับความต้องการของตลาดได้ และพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3 จี และ 4 จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน ซึ่งทีโอทีถือว่าเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่กสทช."นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า คณะกรรมการฯ ยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของ ADVANC จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นอกจากนี้ ในวันที่ 25 ธ.ค.นี้ คณะทำงาน 3จี จะหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึง กิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ประกอบด้วย บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น (SAMART) , บมจ. ล็อกซ์เล่ย์ (LOXLY) , บริษัท หัวเว่ย และบริษัท โนเกีย ซีเมนส์ ที่ชนะการประมูลติดตั้งโครงข่าย 3 จี ทีโอที ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จ
"การติดตั้ง 3จี เฟสแรกจะต้องแล้วเสร็จทั้งหมดในเดือน เม.ย.56 ซึ่งถือว่าช้าเกินไป ดังนั้น บอร์ดจึงอยากให้คณะทำงานได้มีการศึกษารายละเอียดอีกครั้งว่าสาเหตุของการล่าช้าเป็นอย่างไร และมีวิธีการเช่นไรบ้างที่จะสามารถติดตั้งโครงข่าย 3จี ให้แล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม"นายอุดม กล่าว
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก(Core business) คือ การขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 จำนวน 1.5 หมื่นสถานี บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL) โดยกำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน
อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq05/1553207_______________________________
ทีโอทีดิ้นจับคลื่นมาทำ4จี ชี้สู้เอกชนไม่ได้ผุดแผน5ปีรักษาชีวิต
บอร์ดใหม่ทีโอทีฟิต กระโดดทำ 4 จี คู่ขนาน 3 จี พร้อมวางยุทธศาสตร์ทางรอดระยะยาว 5 ปี รองรับสัมปทานสิ้นสุด เตรียมถกคณะทำงาน 3 จี เฟส 1 วันที่ 25 ธ.ค.นี้ เร่งติดตั้งสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานีฐาน ให้แล้วเสร็จก่อนสงกรานต์ปีหน้า
นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ทีโอที เปิดเผยว่า จากการที่ปัจจุบันคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ได้มอบใบอนุญาต 3 จี บนคลื่น 2.1GHz ให้เอกชนที่เข้าร่วมประมูล 3 ราย ประกอบด้วย บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส หรือเอไอเอส, บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือ ดีแทค และ บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น หรือ ทรู โดยขณะนี้เอกชนทั้ง 3 รายได้เดินหน้านำเข้าอุปกรณ์และประกาศที่จะให้บริการ 3 จี ในช่วงไตรมาส 2/56 นั้น
ทั้งนี้ จากความล่าช้าของการดำเนินงาน 3 จี ทีโอที เฟส 1 ที่ปัจจุบันยังติดตั้งโครงข่ายไม่ครบจำนวนสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานี ดังนั้น บอร์ดมีนโยบายให้ทบทวนโครงการขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 มูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาท ด้วยการปรับปรุงและมุ่งเน้นไปที่เทคโนโลยี LTE หรือ 4 จี ที่ทีโอทีสามารถนำคลื่นความถี่ที่มีอยู่ปัจจุบันมาทำได้ ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีอนาคตมากกว่าที่จะดำเนินการเรื่อง 3 จี ต่อไป เพื่อให้สามารถแข่งขันและรองรับความต้องการของตลาดได้ และพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3 จี และ 4 จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน ซึ่งทีโอทีถือว่าเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3 จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3 จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่ กสทช." นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางกาดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของเอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นอกจากนี้ ในวันที่ 25 ธ.ค.นี้ คณะทำงาน 3 จี จะหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอเตี้ยม ประกอบด้วย บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น, บมจ. ล็อกซ์เล่ย์, บริษัท หัวเว่ย และบริษัท โนเกีย ซีเมนส์ จำกัด มูลค่า 16,290 ล้านบาท ที่ชนะการประมูลติดตั้งโครงข่าย 3 จี ทีโอที ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้นหลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จ สำหรับแผนเดิมหลังจากที่ตนได้เข้ามารับตำแหน่งประธานบอร์ดทีโอทีนั้น การติดตั้ง 3 จี เฟสแรกจะต้องแล้วเสร็จทั้งหมดในเดือน เม.ย.56 ซึ่งถือว่าช้าเกินไป ดังนั้น บอร์ดจึงอยากให้คณะทำงานได้มีการศึกษารายละเอียดอีกครั้งว่าสาเหตุของการล่าช้าเป็นอย่างไร และมีวิธีการเช่นไรบ้างที่จะสามารถติดตั้งโครงข่าย 3 จี ให้แล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม
อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก (Core business) คือ การขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 จำนวน 1.5 หมื่นสถานี บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL) โดยรมว.ไอซีทีได้กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
ไทยโพสต์
http://www.thaipost.net/news/201212/66893
TOT หนี้ตายทำ 4G ไม่สนทำ3G แล้ว !! (บอร์ดชี้มองไปข้างหน้าดีกว่า) เปลื่ยนกลยุทธเป็น เจ้าแรกที่บริการ3Gและ4Gคู่ขนานกัน
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3 จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3 จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่ กสทช." นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางกาดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของเอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นายอุดม กล่าวอีกว่า แผนการพัฒนา 4จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือ ดำเนินการบนคลื่น 2.3 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ และหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นกลับไปที่ กสทช. โดยการพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3จี และ 4จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน และจะเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว นอกจากนี้ บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 2558 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป ซึ่งให้เวลาไปศึกษาและรายงานความคืบหน้าประมาณ 1 เดือน ขณะเดียวกันก็จะเร่งติดตามความเคลื่อนไหวอย้างต่อเนื่อง
ขณะที่ โครงการ 3จี เฟสแรก มูลค่า 1.6 หมื่นล้านบาท ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เตรียมหารือกับกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ผู้ติดตั้งโครงข่ายในวันที่ 25 ธ.ค.2555 เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จกว่า 1,000 สถานี ที่ตามแผนเดิมจะแล้วเสร็จทั้งหมดเดือน เม.ย.2556 ซึ่งช้าเกินไป เนื่องจากผู้ประกอบการเอกชนจะเปิดบริการ 3 จี ในเดือน มี.ค.2556 อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ทั้ง 3จี บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หรือ บรอดแบนด์ และบริการเสริมจากโทรศัพท์พื้นฐาน กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
_________________________________
บอร์ดทีโอที เมิน3จีเฟส2 เร่งเดินหน้า4จี
บอร์ดทีโอที เมิน 3จีเฟส 2 เร่งหารือ 4จี เหตุล่าช้ากว่าเอกชนที่ได้ไลเซ่นส์ 3จี กสทช. แล้ว พร้อมตั้งบอร์ด 3จี ควบ สั่งการบ้านบอร์ดวางยุทธศาสตร์ทางรอด รับมือสัมปทานสิ้นสุด ส่งเดือนหน้า...
เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร หรือ บอร์ด บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กล่าวภายหลังประชุมว่า วันนี้ บอร์ดมีนโยบายให้ทบทวนการดำเนินงาน 3จี โดยเฉพาะเรื่องการขยายโครงข่าย 3จี เฟส 2 นอกจากนี้ ยังหารือประเด็นเรื่องการดำเนินการเทคโนโลยี 4จี ในอนาคต เนื่องจากขณะนี้ 3จี ทีโอทีมีความล่าช้าไปมากแล้ว และเพื่อให้ทันกับผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตให้บริการ หรือ ไลเซ่นส์ 3จี คลื่น 2.1 กิกะเฮิรตซ์ จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. แล้ว และกำลังจะเดินหน้าขยายโครงข่ายต่อ
"ขณะนี้ 3จี ทีโอที มีความล่าช้ามากแล้ว และกำลังเดินหน้าขยายโครงข่าย 3จี ของตัวเอง ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ" ประธานบอร์ด ทีโอที กล่าว
นายอุดม กล่าวอีกว่า แผนการพัฒนา 4จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือ ดำเนินการบนคลื่น 2.3 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ และหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นกลับไปที่ กสทช. โดยการพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3จี และ 4จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน และจะเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว นอกจากนี้ บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 2558 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป ซึ่งให้เวลาไปศึกษาและรายงานความคืบหน้าประมาณ 1 เดือน ขณะเดียวกันก็จะเร่งติดตามความเคลื่อนไหวอย้างต่อเนื่อง
ขณะที่ โครงการ 3จี เฟสแรก มูลค่า 1.6 หมื่นล้านบาท ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เตรียมหารือกับกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ผู้ติดตั้งโครงข่ายในวันที่ 25 ธ.ค.2555 เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จกว่า 1,000 สถานี ที่ตามแผนเดิมจะแล้วเสร็จทั้งหมดเดือน เม.ย.2556 ซึ่งช้าเกินไป เนื่องจากผู้ประกอบการเอกชนจะเปิดบริการ 3 จี ในเดือน มี.ค.2556 อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ทั้ง 3จี บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หรือ บรอดแบนด์ และบริการเสริมจากโทรศัพท์พื้นฐาน กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
ไทยรัฐ
http://www.thairath.co.th/content/tech/314447
_________________________________
บอร์ดทีโอทีสั่งทบทวน 3G เฟส 2 หลังเฟสแรกล่าช้า แนะหันพัฒนา 4G ดีกว่า
ข่าวหุ้น-การเงิน สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) -- พุธที่ 19 ธันวาคม 2555 17:59:47 น.
นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ทีโอที เปิดเผยว่า จากการที่ปัจจุบันคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.)ได้มอบใบอนุญาต(ไลเซ่นส์) 3จี บนคลื่น 2.1 GHz ให้กับเอกชนแล้ว ขณะนี้เอกชนทั้ง 3 รายได้เดินหน้านำเข้าอุปกรณ์และประกาศจะเริ่มให้บริการ 3จี ภายในไตรมาส 2/56
ขณะที่ความล่าช้าของการดำเนินงาน 3จี ของทีโอที เฟส 1 ที่ปัจจุบันยังติดตั้งโครงข่ายไม่ครบจำนวนสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานี ดังนั้น คณะกรรมการจึงมีนโยบายให้ทบทวนโครงการขยายโครงข่าย 3จี เฟส 2 มูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาท ด้วยการปรับปรุงและมุ่งเน้นไปที่เทคโนโลยี LTE หรือ 4จี ซึ่งทีโอทีสามารถนำคลื่นความถี่ที่มีอยู่ปัจจุบันมาทำได้ ถือว่าเป็นเทคโนโลยีอนาคตมากกว่าที่จะเดินหน้า 3 จีต่อ เพื่อให้สามารถแข่งขันและรองรับความต้องการของตลาดได้ และพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3 จี และ 4 จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน ซึ่งทีโอทีถือว่าเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่กสทช."นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า คณะกรรมการฯ ยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางการดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของ ADVANC จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นอกจากนี้ ในวันที่ 25 ธ.ค.นี้ คณะทำงาน 3จี จะหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึง กิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอร์เตี้ยม ประกอบด้วย บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น (SAMART) , บมจ. ล็อกซ์เล่ย์ (LOXLY) , บริษัท หัวเว่ย และบริษัท โนเกีย ซีเมนส์ ที่ชนะการประมูลติดตั้งโครงข่าย 3 จี ทีโอที ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้น หลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จ
"การติดตั้ง 3จี เฟสแรกจะต้องแล้วเสร็จทั้งหมดในเดือน เม.ย.56 ซึ่งถือว่าช้าเกินไป ดังนั้น บอร์ดจึงอยากให้คณะทำงานได้มีการศึกษารายละเอียดอีกครั้งว่าสาเหตุของการล่าช้าเป็นอย่างไร และมีวิธีการเช่นไรบ้างที่จะสามารถติดตั้งโครงข่าย 3จี ให้แล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม"นายอุดม กล่าว
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก(Core business) คือ การขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 จำนวน 1.5 หมื่นสถานี บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL) โดยกำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน
อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq05/1553207
_______________________________
ทีโอทีดิ้นจับคลื่นมาทำ4จี ชี้สู้เอกชนไม่ได้ผุดแผน5ปีรักษาชีวิต
บอร์ดใหม่ทีโอทีฟิต กระโดดทำ 4 จี คู่ขนาน 3 จี พร้อมวางยุทธศาสตร์ทางรอดระยะยาว 5 ปี รองรับสัมปทานสิ้นสุด เตรียมถกคณะทำงาน 3 จี เฟส 1 วันที่ 25 ธ.ค.นี้ เร่งติดตั้งสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานีฐาน ให้แล้วเสร็จก่อนสงกรานต์ปีหน้า
นายอุดม พัวสกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ทีโอที เปิดเผยว่า จากการที่ปัจจุบันคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ได้มอบใบอนุญาต 3 จี บนคลื่น 2.1GHz ให้เอกชนที่เข้าร่วมประมูล 3 ราย ประกอบด้วย บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส หรือเอไอเอส, บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือ ดีแทค และ บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น หรือ ทรู โดยขณะนี้เอกชนทั้ง 3 รายได้เดินหน้านำเข้าอุปกรณ์และประกาศที่จะให้บริการ 3 จี ในช่วงไตรมาส 2/56 นั้น
ทั้งนี้ จากความล่าช้าของการดำเนินงาน 3 จี ทีโอที เฟส 1 ที่ปัจจุบันยังติดตั้งโครงข่ายไม่ครบจำนวนสถานีฐานอีกกว่า 1,000 สถานี ดังนั้น บอร์ดมีนโยบายให้ทบทวนโครงการขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 มูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาท ด้วยการปรับปรุงและมุ่งเน้นไปที่เทคโนโลยี LTE หรือ 4 จี ที่ทีโอทีสามารถนำคลื่นความถี่ที่มีอยู่ปัจจุบันมาทำได้ ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีอนาคตมากกว่าที่จะดำเนินการเรื่อง 3 จี ต่อไป เพื่อให้สามารถแข่งขันและรองรับความต้องการของตลาดได้ และพัฒนาเทคโนโลยี 4 จี เพื่อให้ทีโอทีมีทั้ง 3 จี และ 4 จี ที่สามารถให้บริการควบคู่กัน ซึ่งทีโอทีถือว่าเป็นรายเดียวที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว
"บอร์ดได้มีการหารือกันว่าหากมัวแต่มาทำ 3จี ก็ไม่ทันคนอื่นแล้ว เพราะ 3 จี ดูเหมือนจะช้าไปแล้วในตอนนี้ อีกทั้งเอกชนก็จะเปิดให้บริการในคลื่นความถี่ใหม่ช่วงเดือนเม.ย.56 นี้แล้ว ดังนั้น หากทีโอทีไม่มองไปข้างหน้าและยังคงให้ความสำคัญกับเรื่อง 3 จี การลงทุนมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาทจะไม่เกิดประโยชน์ใดๆ ซึ่งแผนการพัฒนา 4 จี เบื้องต้นที่วางไว้ คือการดำเนินการบนคลื่น 2.3 GHz ซึ่งทีโอทีถือครองอยู่ มาทำประโยชน์ให้กับองค์กร ซึ่งหากมีแผนการใช้งานที่ชัดเจน ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องคืนคลื่นดังกล่าวกลับไปที่ กสทช." นายอุดม กล่าว
นายอุดม กล่าวว่า บอร์ดยังเห็นชอบให้ตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดทางรอดของทีโอทีในอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าจะมีทิศทางกาดำเนินธุรกิจอย่างไรบ้าง โดยจะดูแลแผนพัฒนา 4 จี แผนการใช้คลื่นความถี่ และแผนธุรกิจใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น หลังจากรายได้สัมปทานของเอไอเอส จะสิ้นสุดในปี 58 รวมถึงการที่ พ.ร.บ.กสทช. กำหนดให้นำส่งรายได้สัมปทานให้กับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งจะทำให้รายได้ทีโอทีกว่า 60% หายไป
นอกจากนี้ ในวันที่ 25 ธ.ค.นี้ คณะทำงาน 3 จี จะหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกิจการร่วมค้า เอส แอล คอนซอเตี้ยม ประกอบด้วย บมจ. สามารถคอร์ปอเรชั่น, บมจ. ล็อกซ์เล่ย์, บริษัท หัวเว่ย และบริษัท โนเกีย ซีเมนส์ จำกัด มูลค่า 16,290 ล้านบาท ที่ชนะการประมูลติดตั้งโครงข่าย 3 จี ทีโอที ที่ล่าช้ามานานกว่า 6 เดือน เพื่อเร่งการดำเนินการให้เร็วขึ้นหลังจากยังติดตั้งไม่เสร็จ สำหรับแผนเดิมหลังจากที่ตนได้เข้ามารับตำแหน่งประธานบอร์ดทีโอทีนั้น การติดตั้ง 3 จี เฟสแรกจะต้องแล้วเสร็จทั้งหมดในเดือน เม.ย.56 ซึ่งถือว่าช้าเกินไป ดังนั้น บอร์ดจึงอยากให้คณะทำงานได้มีการศึกษารายละเอียดอีกครั้งว่าสาเหตุของการล่าช้าเป็นอย่างไร และมีวิธีการเช่นไรบ้างที่จะสามารถติดตั้งโครงข่าย 3 จี ให้แล้วเสร็จเร็วกว่ากำหนดเดิม
อย่างไรก็ตาม บอร์ดทีโอทีจะเร่งดำเนินการทุกโครงการตามนโยบายของ น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ที่ต้องการให้แผนการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินที่มีอยู่ ประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก (Core business) คือ การขยายโครงข่าย 3 จี เฟส 2 จำนวน 1.5 หมื่นสถานี บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL) โดยรมว.ไอซีทีได้กำหนดกรอบระยะเวลาดำเนินการ 90 วัน.
ไทยโพสต์
http://www.thaipost.net/news/201212/66893