กระทู้หมายเลข 43399240 ชื่อกระทู้ คัมภีร์ อภิธัมมาวตาร2(1) -- ดร.สุภีร์ ทุมทอง บรรยาย -- หนังสืออภิธัมมาวตาร วัดท่ามะโอ ใช้ประกอบการฟังบรรยาย
ความคิดเห็นที่ 7
23.01
สังขาระ คือ มีการประกอบความเพียรหรือการปรุงแต่งเสริมเพิ่มกำลังขึ้นมาจาก ตัวเอง ก็ได้ จาก คนอื่น ก็ได้ นะ ประกอบเข้ามาด้วย
ส่วนถ้าเป็น อะสังขาระ ไม่มีความเพียรของตนหรือของผู้อื่นประกอบเข้ามา
สะสังขาระ ก็คือ ความเพียรของตนเองบ้าง ของผู้อื่นบ้าง ชี้นำ ชักจูง ชักชวน เข้ามาอย่างนี้นะครับ
ก็เลยแบ่งเป็น 2 ด้วยอำนาจ สังขาร เป็น อะสังขาร ไม่มีสังขาร กับ สะสังขาร มีสังขาร
23.42
------
23.56
อสังขารัง ไม่ต้องมีความเพียร ของตนเอง ของผู้อื่น หรือว่าไม่ต้องมีการชี้นำชักจูง ชักชวน ไม่ต้องมี อะไรเพิ่มเข้ามา ก็เกิดจิตดวงนี้ได้เลย นะ ก็เหมือนคนขี้โมโห ขี้หงุดหงิด ขี้น้อยใจอยู่แล้ว เกิดอะไรนิดหน่อย ก็ไม่ต้องคิดเลย ประมาณนั้น เป็นคนมีอัธยาศัยในทางโทสะ น่ะ อย่างนี้นะครับ หรือว่า โทสะของเขาเกิดบ่อยจนชำนาญ ช่ำชองแล้ว เพราะจิตมีอำนาจในการสั่งสมสันดานของตนด้วนสามารถ ชะวะนะวิถี ด้วย พวกเกิดบ่อยๆเนี่ย พอตอนหลังมาก็ไม่ต้องแล้ว ไม่ต้องชี้นำ ชักจูง ชักชวน ไม่ต้องมากแล้ว ไม่ต้องใช้เวลาแล้ว กระทบปุ๊บก็ขึ้นเลยนะ หรือ พวกมีเวรต่อกันและกันนี่ เห็นหน้าคนนี้ก็อยากจะเอาไม้ตีหัวมันเลย พวกคนมีเวรกันมานี่นะ ผูกเวรกันไว้ในชาติเก่าๆนี่ เห็นคนอื่นไม่เป็นไร เห็นหมอนี่โอ้โห นึกถึงไม้หน้าสามจะตีศรีษะมันอย่างนี้เป็นต้น อันนี้ก็เป็น อะสังขารัง นะครับ ทำนองนี้
ส่วนสะสังขารัง ก็คือ มีการประกอบความเพียรเพิ่มเติมเข้ามา เรียกว่า มีการ ชี้นำ ชักจูง ชักชวน ด้วยความคิดของตนเอง ก็ได้ ด้วยความคิดของผู้อื่นก็ได้ ด้วยคำพูดของคนอื่นก็ได้ ด้วยเหตุการณ์ต่างๆก็ได้ กระตุ้นขึ้นมาจนเกิดโทสะขึ้นมา คือกว่าจะเกิดก็นานอยู่ ต้องกระตุ้น ตรงนั้น ตรงนี้จึงเกิดขึ้น นะครับ
25.29
-----
[start]พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
[/start]
[img]https://84000.org/tipitaka/dic/space1.gif[/img]
อสังขาริก “ไม่เป็นไปกับด้วยการชักนำ”, ไม่มีการชักนำ ได้แก่จิตที่คิดดีหรือชั่วโดยเริ่มขึ้นเอง มิใช่ถูกกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก จึงมีกำลังมาก;
ตรงข้ามกับ สสังขาริก
สสังขาริก “เป็นไปกับด้วยการชักนำ”, มีการชักนำ ใช้แก่จิตที่คิดดีหรือชั่ว โดยถูกกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก มิใช่เริ่มขึ้นเอง จึงมีกำลังอ่อน;
ตรงข้ามกับ อสังขาริก
------
-----
แผ่นที่ 1. เครดิต มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ ขออนุญาตจำนวน 2 หน้า เพื่อการศึกษาพระธรรมครับ
-----
อะสังขารัง กับ สะสังขารัง เป็นอย่างนี้
สังขาระ คือ มีการประกอบความเพียรหรือการปรุงแต่งเสริมเพิ่มกำลังขึ้นมาจาก ตัวเอง ก็ได้ จาก คนอื่น ก็ได้ นะ ประกอบเข้ามาด้วย
ส่วนถ้าเป็น อะสังขาระ ไม่มีความเพียรของตนหรือของผู้อื่นประกอบเข้ามา
สะสังขาระ ก็คือ ความเพียรของตนเองบ้าง ของผู้อื่นบ้าง ชี้นำ ชักจูง ชักชวน เข้ามาอย่างนี้นะครับ
ก็เลยแบ่งเป็น 2 ด้วยอำนาจ สังขาร เป็น อะสังขาร ไม่มีสังขาร กับ สะสังขาร มีสังขาร
23.42
------
23.56
อสังขารัง ไม่ต้องมีความเพียร ของตนเอง ของผู้อื่น หรือว่าไม่ต้องมีการชี้นำชักจูง ชักชวน ไม่ต้องมี อะไรเพิ่มเข้ามา ก็เกิดจิตดวงนี้ได้เลย นะ ก็เหมือนคนขี้โมโห ขี้หงุดหงิด ขี้น้อยใจอยู่แล้ว เกิดอะไรนิดหน่อย ก็ไม่ต้องคิดเลย ประมาณนั้น เป็นคนมีอัธยาศัยในทางโทสะ น่ะ อย่างนี้นะครับ หรือว่า โทสะของเขาเกิดบ่อยจนชำนาญ ช่ำชองแล้ว เพราะจิตมีอำนาจในการสั่งสมสันดานของตนด้วนสามารถ ชะวะนะวิถี ด้วย พวกเกิดบ่อยๆเนี่ย พอตอนหลังมาก็ไม่ต้องแล้ว ไม่ต้องชี้นำ ชักจูง ชักชวน ไม่ต้องมากแล้ว ไม่ต้องใช้เวลาแล้ว กระทบปุ๊บก็ขึ้นเลยนะ หรือ พวกมีเวรต่อกันและกันนี่ เห็นหน้าคนนี้ก็อยากจะเอาไม้ตีหัวมันเลย พวกคนมีเวรกันมานี่นะ ผูกเวรกันไว้ในชาติเก่าๆนี่ เห็นคนอื่นไม่เป็นไร เห็นหมอนี่โอ้โห นึกถึงไม้หน้าสามจะตีศรีษะมันอย่างนี้เป็นต้น อันนี้ก็เป็น อะสังขารัง นะครับ ทำนองนี้
ส่วนสะสังขารัง ก็คือ มีการประกอบความเพียรเพิ่มเติมเข้ามา เรียกว่า มีการ ชี้นำ ชักจูง ชักชวน ด้วยความคิดของตนเอง ก็ได้ ด้วยความคิดของผู้อื่นก็ได้ ด้วยคำพูดของคนอื่นก็ได้ ด้วยเหตุการณ์ต่างๆก็ได้ กระตุ้นขึ้นมาจนเกิดโทสะขึ้นมา คือกว่าจะเกิดก็นานอยู่ ต้องกระตุ้น ตรงนั้น ตรงนี้จึงเกิดขึ้น นะครับ
25.29
-----
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
[/start]
อสังขาริก “ไม่เป็นไปกับด้วยการชักนำ”, ไม่มีการชักนำ ได้แก่จิตที่คิดดีหรือชั่วโดยเริ่มขึ้นเอง มิใช่ถูกกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก จึงมีกำลังมาก;
ตรงข้ามกับ สสังขาริก
สสังขาริก “เป็นไปกับด้วยการชักนำ”, มีการชักนำ ใช้แก่จิตที่คิดดีหรือชั่ว โดยถูกกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก มิใช่เริ่มขึ้นเอง จึงมีกำลังอ่อน;
ตรงข้ามกับ อสังขาริก
------