"เอ็นข้อมืออักเสบ” พบได้บ่อยในคนวัยทำงาน เกิดจากการใช้งานข้อมือและนิ้วหัวแม่มือซ้ำ ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การใช้แป้นพิมพ์ หรือการใช้เมาส์ ซึ่งส่งผลให้ปลอกหุ้มเอ็นข้อมือบริเวณฐานนิ้วหัวแม่มือเกิดการอักเสบขึ้นได้"
อาการ
ปวดข้อมือทางฝั่งโคนนิ้วหัวแม่มือ ซึ่งอาการปวดอาจรุนแรงขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว
แนวทางการฟื้นฟูและรักษาเบื้องต้น
ลดและหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมือหรือนิ้วหัวแม่มือ
หลีกเลี่ยงการนวด ซึ่งอาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงขึ้น
ใส่เฝือกอ่อน หรือปลอกข้อมือ เพื่อลดการเคลื่อนไหว และฟื้นฟูการอักเสบ
เมื่ออาการปวดลดลง ค่อย ๆ เริ่มบริหารข้อมือ และนิ้วหัวแม่มือเบา ๆ ให้เอ็นและกล้ามเนื้อกลับมาแข็งแรง
รับประทานยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เพื่อลดอาการปวด
ในบางกรณีแพทย์อาจแนะนำให้ฉีดยาสเตียรอยด์ เพื่อลดการอักเสบ
Cr. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ข้อมูลโดย : รศ.นพ.ภพ เหลืองจามีกร
ฝ่ายออร์โธปิดิกส์
ข้อมูล ณ วันที่ : 5 กุมภาพันธ์ 2568
เอ็นข้อมืออักเสบ ภัยเงียบพนักงานออฟฟิศ !
ปวดข้อมือทางฝั่งโคนนิ้วหัวแม่มือ ซึ่งอาการปวดอาจรุนแรงขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหว
แนวทางการฟื้นฟูและรักษาเบื้องต้น
ลดและหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมือหรือนิ้วหัวแม่มือ
หลีกเลี่ยงการนวด ซึ่งอาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงขึ้น
ใส่เฝือกอ่อน หรือปลอกข้อมือ เพื่อลดการเคลื่อนไหว และฟื้นฟูการอักเสบ
เมื่ออาการปวดลดลง ค่อย ๆ เริ่มบริหารข้อมือ และนิ้วหัวแม่มือเบา ๆ ให้เอ็นและกล้ามเนื้อกลับมาแข็งแรง
รับประทานยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เพื่อลดอาการปวด
ในบางกรณีแพทย์อาจแนะนำให้ฉีดยาสเตียรอยด์ เพื่อลดการอักเสบ
Cr. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ข้อมูลโดย : รศ.นพ.ภพ เหลืองจามีกร
ฝ่ายออร์โธปิดิกส์
ข้อมูล ณ วันที่ : 5 กุมภาพันธ์ 2568