ใครสร้างนครวัด❓❓
ความคิดที่ 1️⃣
นักวิชาการไทยส่วนใหญ่ได้แต่เชื่อตามฝรั่งไปแบบเชื่องๆ ว่าเขมรเป็นผู้สร้างนครวัด แต่ความจริงแล้ว ขอมต่างหากเป็นคนสร้าง และขอมก็คือ สยามนี่แหละ ส่วนเขมรนั้นสมัยโน้นเป็นทาสขอม
หลักฐานสำคัญที่สุดคือบันทึก ๔๐ หน้าของโจวตากวน (ทูตการค้าชาวจีน) ที่ทำให้คำนวณได้ว่าสมัยก่อนเมืองพระนครมีคนชั้นปกครอง ๓ แสน และทาสและคนพื้นเมือง ๗ แสน โดยคนพื้นเมืองนั้นใช้เข็มก็ไม่เป็น ทอผ้าก็ไม่เป็น ส่วนคนสยามนั้นใช้เข็มเป็น ทอผ้าก็เป็น เลี้ยงหม่อนไหมก็เป็น
โดยชนชั้นปกครองนั้นคือขอม ซึ่งก็คือคนสยามนั่นเอง
ส่วนคนพื้นเมืองนั้นขนาดชุนผ้ายังไม่เป็นแล้วจะไปสร้างนครวัด นครธมใหญ่โตได้อย่างไร เอาความรู้เทคโนโลยีไปจากไหน
อยู่มาวันหนึ่งพวกทาสสบโอกาส ก็ทำการยึดอำนาจล้มล้างราชบัลลังก์ นำโดย ตระซอกประแอม (แตงหวาน) ที่ต่อมาสถาปนาตนเป็นกษัตริย์
ที่สำคัญที่สุดคือ คำต่อท้ายกษัตริย์ “วรมัน” ทุกพระองค์ที่ผ่านมา ๖๐๐ ปีก็หายไปในปีนั้นนั่นเอง จากนั้นไม่มี “วรมัน” อีกเลย แสดงชัดว่าเขมรเป็นคนละเผ่าพันธุ์กับขอม
<แสดงว่าการกบฏต่อกษัตริย์ วรมัน หรอ??>
ความที่ 2️⃣
ปราสาทนครวัด ศาสนสถานที่โดดเด่นของเมืองพระนคร ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองพระนครธม ราชธานีของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แม้ไม่พบจารึกใด ๆ ชี้ไปยังตัวกษัตริย์ผู้สถาปนา แต่ปัจจุบันเราได้ข้อสรุปแล้วว่า สิ่งปลูกสร้างอันน่าอัศจรรย์ใจนี้ สถาปนาโดย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 แห่งราชวงศ์มหิธรปุระ
<เราขอขยายความ ~ราชวงศ์มหิธรปุระ~
ราชวงศ์มหิธรปุระนี้ถือว่าเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โบราณคดีสำคัญอีกเรื่องหนึ่งของดินแดนภาคอีสานของประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 - 18 เนื่องจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์นี้มีครอบครัววงศ์ญาติอยู่ที่เมืองมหิธรปุระ นักวิชาการจึงเรียกราชวงศ์ของพระองค์ว่า "ราชวงศ์มหิธรปุระ"และที่สำคัญเรื่องราวส่วนใหญ่ของกษัตริย์ราชวงศ์นี้พบอยู่ในดินแดนแถบภาคอีสาน
ของประเทศไทยเช่น ปราสาทพนมวัน
จังหวังนครราชสีมา
👇 สามารถอ่านเพิ่มเติมได้
https://www.finearts.go.th/storage/contents/2022/05/detail_file/JUH5NohFRApRYieunJQyJbUr8D7bz3nhC2D8QojC.pdf>
นครวัดคือวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของสถาปัตยกรรมแห่งทะเลสาบเขมร แต่ถึงจะใหญ่โตเพียงใด น่าประหลาดใจที่ไม่ปรากฏหลักฐานจารึกใดกล่าวถึงกษัตริย์ผู้สถาปนาปราสาทเลย ทั้งนี้ ภายหลังเราได้ทราบแล้วว่าคือ “พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2“
ทราบได้อย่างไรว่าพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เป็นผู้สถาปนานครวัด❓
เมื่อแรกที่ฝรั่งเศสเข้ามาทำการศึกษาเกี่ยวกับโบราณคดีที่ราบลุ่มทะเลสาบเขมร ปัญหาเรื่องอายุโบราณสถานขนาดใหญ่คือเรื่องสำคัญที่ต้องเร่งทำการศึกษา รวมถึงการกำหนดช่วงอายุของปราสาทนครวัด แม้จะมีการพบจารึกพระนาม “บรมวิษณุโลก” แต่พวกนักวิชาการอาณานิคมยังไม่มั่นใจว่า บรมวิษณุโลก เป็นพระนามหลังสิ้นพระชนม์ของกษัตริย์องค์ใด ระหว่าง พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 กับ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2ที่พระนามของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1593-1609) กับพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1656-1688/1693) ถูกยกขึ้นมาเสนอนั้น เพราะทั้งสองพระองค์ล้วนเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรพระนครที่ไม่ปรากฏ (หรือยังไม่พบ) พระสมัญญานามหลังสิ้นพระชนม์ด้วยกันทั้งคู่
ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2463 การศึกษาที่หอสมุดพระวชิรญาณ กรุงเทพฯ ในกำกับของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้พบข้อความจาก จารึกพิมาย 3
ที่กรอบประตูของโคปุระด้านทิศใต้ของระเบียงคด ระบุศักราช “ม.ศ. 1034” หรือ พ.ศ. 1655
<1>
โดยกล่าวถึงขุนนางผู้อาจเป็นพระญาติวงศ์คนสำคัญของกษัตริย์แห่งเมืองพระนคร คือ “พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิบปติ” แห่งโฉกวกุล ว่าเป็นผู้สร้าง “พระไตรโลกยวิชัย” เสนาบดีแห่งกมรเตงอัญ ชคตะ วิมายะ รูปเคารพประธานที่ปราสาทพิมาย
<2> จากที่หาเพิ่ม 👇 เมืองพิมาย ตอนที่ 1
เมืองวิมายปุระ หรือ พิมาย เป็นศูนย์กลางของแคว้นมหิธรปุระ และมีเมืองพนมรุ้ง เป็นเมืองสำคัญของแคว้น
แคว้นมหิธรปุระเป็นแคว้นสำคัญของอาณาจักรกัมพูชาสมัยพระนคร ด้วยมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกัน มีอำนาจต่อรองทางการเมือง ที่เห็นได้ชัดเจนคือ กษัตริย์ของแคว้นมหิธรปุระ สามารถยกทัพเข้าแย่งชิงราชสมบัติเมืองพระนครศรียโศธรปุระได้หลายพระองค์ เช่น พระเจ้าสุริยวรมเทวะที่ 1 พระเจ้าสุริยวรมเทวะที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 7 เป็นต้น
จากจารึกหลักนี้ (จารึกวัดจงกอ ต.บ้านเก่า อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา) ที่ค้นพบนานแล้ว และปัจจุบันยังคงปักอยู่ที่ฐานชุกชีบริเวณขวามือของพระพุทธรูปในพระอุโบสถ
<<<<1>>>>>ข้อคิด
❌พงศาวดารฉบับแรกของเขมรที่ประพันธุ์โดยนักองเอง (ที่มาพึ่งบารมี ร. ๑ ของไทย) ❌
〽️อันนี้ไหมที่เราหาเจอ〽️
https://www.finearts.go.th/storage/contents/file/1OVyRm0VxoXQtuck4RDIEzIl5m6yrcdSwTSlaLD1.pdf
<<<<<2>>>>>ข้อคิด
พระราชพงศาวดารเขมรฉบับที่เก่าที่สุดปรากฏอยู่แต่เพียงส่วนเดียว แต่งขึ้นใน พ.ศ. 2339 (สมัยรัชกาลที่ 1 ของไทย) ได้แปลเป็นภาษาไทย และพระราชาเขมรในขณะนั้นคือ “นักองค์เอง” ก็ได้ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
<<< ก็ระบุตรงกันว่า ตระซอกประแอม คือต้นกำเนิดของคนเขมร แต่ภายหลังฝรั่งเศสมายุให้ปรับเปลี่ยนว่าต้นตระกูลคือ วรมัน ทั้งที่เขมรฆ่าวรมันตายเรียบ แล้วเปลี่ยนชื่อเมืองว่า “สยามราบ” (หรือเสียมเรียบ ในวันนี้)
ต่อมา….
จอร์ช เซแดส จึงเสนอว่า เป็นไปได้สูงทีเดียวที่พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิบปติ จะมีชีวิตอยู่ต่อมาจนถึงรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2
ประกอบกับการปรากฏรูป “พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิปติวรมัน” แห่งโฉกวกุล ในฉากเดียวกับรูปพระบรมวิษณุโลก บนระเบียงคดปราสาทนครวัด ย่อมหมายความว่า ท่านมีชีวิตอยู่และสิ้นชีพไล่เลี่ยกับองค์พระบรมวิษณุโลก >>>
(((1)))
ก็ระบุตรงกันว่า ตระซอกประแอม คือต้นกำเนิดของคนเขมร แต่ภายหลังฝรั่งเศสมายุให้ปรับเปลี่ยนว่าต้นตระกูลคือ วรมัน ทั้งที่เขมรฆ่าวรมันตายเรียบ แล้วเปลี่ยนชื่อเมืองว่า “สยามราบ” (หรือเสียมเรียบ ในวันนี้)
เสียม ไม่ได้ เรียบ หมดหรอก จากสามแสน อาจถูกฆ่าตายสัก ๕ หมื่น ที่เหลือรอดตายก็หนีมาก่อตั้งกรุงศรีอยุธยา นำทัพโดยพระเจ้าอู่ทองนั่นแล
ข้อมูล นายแตงหวาน 👇
ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรเขมรหรือประเทศกัมพูชาในสมัยต่อมา ปรากฏอยู่ในพระราชพงศาวดารเขมรหลายเล่ม ซึ่ง (ล้วน) แต่งขึ้นในต้นหรือกลางพุทธศตวรรษที่ 24
พระเจ้าแตงหวาน ประวัติศาสตร์อันเลือนลางก่อนเมืองพระนครถูกทิ้งร้าง
ยังถกเถียงกันอยู่มากว่าพระเจ้าอู่ทองคือใคร มาจากไหน ที่สอนกันมานานว่ามาจากเมืองอู่ทอง สุพรรณบุรีนั้น บัดนี้สรุปกันได้แล้วว่าผิด เพราะเมืองอู่ทองเป็นเมืองร้างมาก่อนหน้านี้แล้วสองร้อยปี อีกทั้งเป็นเมืองเล็กมีคนประมาณ ๕ หมื่นเท่านั้น แต่อยุธยาเริ่มต้นก็มีพลเมืองสามแสนแล้ว ถามว่าเอาคนสามแสนมาจากไหนในละแวกนั้น
พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างเมืองอยู่ ๑๔ ปี พอสร้างเสร็จแทนที่จะเฉลิมฉลอง พักผ่อนไพร่พล กลับยกทัพไปตีเมืองพระนครทันที (เมืองเสียมเรียบ) ซึ่งผิดวิสัยมาก เพราะเป็นเมืองเล็กๆ สร้างใหม่ ไฉนเลยจะกล้าไปตีเมืองใหญ่เก่าแก่ที่มีกองทัพเกรียงไกรเช่นพระนคร ซึ่งประเพณีการสงครามเดิมมานั้นมีแต่เมืองเก่าใหญ่จะยกทัพมาถล่มเมืองสร้างใหม่ เพื่อไม่ให้เป็นศูนย์อำนาจมาแข่งบารมี
ที่พระเจ้าอู่ทองยกทัพไปตีเขมรนั้นเป็นเพราะทรงแค้นใจหนักที่อัดอั้นมานาน ๑๔ ปีไงเล่า ทรงต้องรีบเพราะทรงชราภาพมากแล้ว เกรงว่าจะล้างแค้นเขมรไม่ทันที่พวกมันฆ่าวรมันตายเรียบนั่นไง
พอรบชนะเขมรเบ็ดเสร็จ ก็ทรงสร้างเมือง “อู่ทองมีชัย” (อุดงเมียนเชย ในวันนี้) เข้าใจว่าทรงตั้งชื่อนี้เพื่อข่มนาม “เสียมเรียบ” นั่นเอง เมืองนี้จำลองแบบไปจากอยุธยา และกลายเป็นเมืองหลวงเขมรนานถึง ๒๐๐ กว่าปี จนขณะนี้กลายเมืองมรดกโลกไปแล้ว
พระเจ้าอู่ทองเป็นขอม ดังนั้นเมื่อมาอยุธยาก็ทรงพูดภาษาขอม จึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมคำราชาศัพท์ของเราวันนี้จึงเต็มไปด้วยภาษาขอมและสันสกฤต เป็นเพราะสืบทอดมาจากภาษาพระเจ้าอู่ทองนี่เอง ส่วนเขมรเป็นทาสขอมมานานก็ย่อมรับเอาภาษาขอมไปพูดด้วยเป็นธรรมดา อย่าลืมด้วยว่าภาษาขอมเองก็ยืมเอาคำ “ไต” ไปใช้มากพอกัน
เทคโนโลยีการตัดหิน ลากหิน สลักหินนั้นชาวขอมพิมาย ลพบุรี ได้ฝึกปรือมานานก่อนสร้างนครวัด นครธม เช่น ปราสาทหินพิมาย ก็สร้างก่อนนครวัด โดยตัดหินมาจากอ.สีคิ้ว แล้วลากไปอีก ๑๐๐ กม. เพื่อไปสร้างที่พิมาย คนเขมรเย็บผ้ายังไม่เป็นแล้วจะตัดลากยกหินก้อนมหึมาเหล่านี้เป็นหรือ
มีอีก👇
https://mgronline.com/daily/detail/9560000020698
ชื่อปราสาทต่างๆ ในนครวัด นครธม ยังมีร่องรอยภาษาสยามแทบทุกแห่ง เช่น พิมานอากาศ นาคพัน ปักษีจำกรง เชื้อสายเทวดา เสาเปรต พระรูป ตาแก้ว ตาพรม
เพิ่มเติม
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สถาปนา “นครวัด” เรารู้ได้ไง ในเมื่อไม่มีจารึกบอก?
หายากมากข้อมูลบ้างเว็บไซต์ไม่ตรงกันเลย
วิกิพีเดียพ้นไปเลยยยยย
เอาเว็บนี้เป็นหลักจากนั้นหาเพิ่ม
https://mgronline.com/daily/detail/9560000020698
ใครสร้างนครวัด❓❓❓ข้อมูลมันสลับไปสลับมากันนะแต่มีลิ้ง (มีเครดิตใครด้วย)
ความคิดที่ 1️⃣
นักวิชาการไทยส่วนใหญ่ได้แต่เชื่อตามฝรั่งไปแบบเชื่องๆ ว่าเขมรเป็นผู้สร้างนครวัด แต่ความจริงแล้ว ขอมต่างหากเป็นคนสร้าง และขอมก็คือ สยามนี่แหละ ส่วนเขมรนั้นสมัยโน้นเป็นทาสขอม
หลักฐานสำคัญที่สุดคือบันทึก ๔๐ หน้าของโจวตากวน (ทูตการค้าชาวจีน) ที่ทำให้คำนวณได้ว่าสมัยก่อนเมืองพระนครมีคนชั้นปกครอง ๓ แสน และทาสและคนพื้นเมือง ๗ แสน โดยคนพื้นเมืองนั้นใช้เข็มก็ไม่เป็น ทอผ้าก็ไม่เป็น ส่วนคนสยามนั้นใช้เข็มเป็น ทอผ้าก็เป็น เลี้ยงหม่อนไหมก็เป็น
โดยชนชั้นปกครองนั้นคือขอม ซึ่งก็คือคนสยามนั่นเอง
ส่วนคนพื้นเมืองนั้นขนาดชุนผ้ายังไม่เป็นแล้วจะไปสร้างนครวัด นครธมใหญ่โตได้อย่างไร เอาความรู้เทคโนโลยีไปจากไหน
อยู่มาวันหนึ่งพวกทาสสบโอกาส ก็ทำการยึดอำนาจล้มล้างราชบัลลังก์ นำโดย ตระซอกประแอม (แตงหวาน) ที่ต่อมาสถาปนาตนเป็นกษัตริย์
ที่สำคัญที่สุดคือ คำต่อท้ายกษัตริย์ “วรมัน” ทุกพระองค์ที่ผ่านมา ๖๐๐ ปีก็หายไปในปีนั้นนั่นเอง จากนั้นไม่มี “วรมัน” อีกเลย แสดงชัดว่าเขมรเป็นคนละเผ่าพันธุ์กับขอม
<แสดงว่าการกบฏต่อกษัตริย์ วรมัน หรอ??>
ความที่ 2️⃣
ปราสาทนครวัด ศาสนสถานที่โดดเด่นของเมืองพระนคร ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองพระนครธม ราชธานีของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แม้ไม่พบจารึกใด ๆ ชี้ไปยังตัวกษัตริย์ผู้สถาปนา แต่ปัจจุบันเราได้ข้อสรุปแล้วว่า สิ่งปลูกสร้างอันน่าอัศจรรย์ใจนี้ สถาปนาโดย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 แห่งราชวงศ์มหิธรปุระ
<เราขอขยายความ ~ราชวงศ์มหิธรปุระ~
ราชวงศ์มหิธรปุระนี้ถือว่าเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โบราณคดีสำคัญอีกเรื่องหนึ่งของดินแดนภาคอีสานของประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17 - 18 เนื่องจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์นี้มีครอบครัววงศ์ญาติอยู่ที่เมืองมหิธรปุระ นักวิชาการจึงเรียกราชวงศ์ของพระองค์ว่า "ราชวงศ์มหิธรปุระ"และที่สำคัญเรื่องราวส่วนใหญ่ของกษัตริย์ราชวงศ์นี้พบอยู่ในดินแดนแถบภาคอีสาน
ของประเทศไทยเช่น ปราสาทพนมวัน
จังหวังนครราชสีมา
👇 สามารถอ่านเพิ่มเติมได้
https://www.finearts.go.th/storage/contents/2022/05/detail_file/JUH5NohFRApRYieunJQyJbUr8D7bz3nhC2D8QojC.pdf>
นครวัดคือวิวัฒนาการขั้นสูงสุดของสถาปัตยกรรมแห่งทะเลสาบเขมร แต่ถึงจะใหญ่โตเพียงใด น่าประหลาดใจที่ไม่ปรากฏหลักฐานจารึกใดกล่าวถึงกษัตริย์ผู้สถาปนาปราสาทเลย ทั้งนี้ ภายหลังเราได้ทราบแล้วว่าคือ “พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2“
ทราบได้อย่างไรว่าพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เป็นผู้สถาปนานครวัด❓
เมื่อแรกที่ฝรั่งเศสเข้ามาทำการศึกษาเกี่ยวกับโบราณคดีที่ราบลุ่มทะเลสาบเขมร ปัญหาเรื่องอายุโบราณสถานขนาดใหญ่คือเรื่องสำคัญที่ต้องเร่งทำการศึกษา รวมถึงการกำหนดช่วงอายุของปราสาทนครวัด แม้จะมีการพบจารึกพระนาม “บรมวิษณุโลก” แต่พวกนักวิชาการอาณานิคมยังไม่มั่นใจว่า บรมวิษณุโลก เป็นพระนามหลังสิ้นพระชนม์ของกษัตริย์องค์ใด ระหว่าง พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 กับ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2ที่พระนามของพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1593-1609) กับพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1656-1688/1693) ถูกยกขึ้นมาเสนอนั้น เพราะทั้งสองพระองค์ล้วนเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรพระนครที่ไม่ปรากฏ (หรือยังไม่พบ) พระสมัญญานามหลังสิ้นพระชนม์ด้วยกันทั้งคู่
ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2463 การศึกษาที่หอสมุดพระวชิรญาณ กรุงเทพฯ ในกำกับของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้พบข้อความจาก จารึกพิมาย 3
ที่กรอบประตูของโคปุระด้านทิศใต้ของระเบียงคด ระบุศักราช “ม.ศ. 1034” หรือ พ.ศ. 1655
<1>
โดยกล่าวถึงขุนนางผู้อาจเป็นพระญาติวงศ์คนสำคัญของกษัตริย์แห่งเมืองพระนคร คือ “พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิบปติ” แห่งโฉกวกุล ว่าเป็นผู้สร้าง “พระไตรโลกยวิชัย” เสนาบดีแห่งกมรเตงอัญ ชคตะ วิมายะ รูปเคารพประธานที่ปราสาทพิมาย
<2> จากที่หาเพิ่ม 👇 เมืองพิมาย ตอนที่ 1
เมืองวิมายปุระ หรือ พิมาย เป็นศูนย์กลางของแคว้นมหิธรปุระ และมีเมืองพนมรุ้ง เป็นเมืองสำคัญของแคว้น
แคว้นมหิธรปุระเป็นแคว้นสำคัญของอาณาจักรกัมพูชาสมัยพระนคร ด้วยมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกัน มีอำนาจต่อรองทางการเมือง ที่เห็นได้ชัดเจนคือ กษัตริย์ของแคว้นมหิธรปุระ สามารถยกทัพเข้าแย่งชิงราชสมบัติเมืองพระนครศรียโศธรปุระได้หลายพระองค์ เช่น พระเจ้าสุริยวรมเทวะที่ 1 พระเจ้าสุริยวรมเทวะที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมเทวะที่ 7 เป็นต้น
จากจารึกหลักนี้ (จารึกวัดจงกอ ต.บ้านเก่า อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา) ที่ค้นพบนานแล้ว และปัจจุบันยังคงปักอยู่ที่ฐานชุกชีบริเวณขวามือของพระพุทธรูปในพระอุโบสถ
<<<<1>>>>>ข้อคิด
❌พงศาวดารฉบับแรกของเขมรที่ประพันธุ์โดยนักองเอง (ที่มาพึ่งบารมี ร. ๑ ของไทย) ❌
〽️อันนี้ไหมที่เราหาเจอ〽️
https://www.finearts.go.th/storage/contents/file/1OVyRm0VxoXQtuck4RDIEzIl5m6yrcdSwTSlaLD1.pdf
<<<<<2>>>>>ข้อคิด
พระราชพงศาวดารเขมรฉบับที่เก่าที่สุดปรากฏอยู่แต่เพียงส่วนเดียว แต่งขึ้นใน พ.ศ. 2339 (สมัยรัชกาลที่ 1 ของไทย) ได้แปลเป็นภาษาไทย และพระราชาเขมรในขณะนั้นคือ “นักองค์เอง” ก็ได้ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
<<< ก็ระบุตรงกันว่า ตระซอกประแอม คือต้นกำเนิดของคนเขมร แต่ภายหลังฝรั่งเศสมายุให้ปรับเปลี่ยนว่าต้นตระกูลคือ วรมัน ทั้งที่เขมรฆ่าวรมันตายเรียบ แล้วเปลี่ยนชื่อเมืองว่า “สยามราบ” (หรือเสียมเรียบ ในวันนี้)
ต่อมา….
จอร์ช เซแดส จึงเสนอว่า เป็นไปได้สูงทีเดียวที่พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิบปติ จะมีชีวิตอยู่ต่อมาจนถึงรัชกาลพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2
ประกอบกับการปรากฏรูป “พระกมรเตงอัญวีเรนทรธิปติวรมัน” แห่งโฉกวกุล ในฉากเดียวกับรูปพระบรมวิษณุโลก บนระเบียงคดปราสาทนครวัด ย่อมหมายความว่า ท่านมีชีวิตอยู่และสิ้นชีพไล่เลี่ยกับองค์พระบรมวิษณุโลก >>>
(((1)))
ก็ระบุตรงกันว่า ตระซอกประแอม คือต้นกำเนิดของคนเขมร แต่ภายหลังฝรั่งเศสมายุให้ปรับเปลี่ยนว่าต้นตระกูลคือ วรมัน ทั้งที่เขมรฆ่าวรมันตายเรียบ แล้วเปลี่ยนชื่อเมืองว่า “สยามราบ” (หรือเสียมเรียบ ในวันนี้)
เสียม ไม่ได้ เรียบ หมดหรอก จากสามแสน อาจถูกฆ่าตายสัก ๕ หมื่น ที่เหลือรอดตายก็หนีมาก่อตั้งกรุงศรีอยุธยา นำทัพโดยพระเจ้าอู่ทองนั่นแล
ข้อมูล นายแตงหวาน 👇
ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรเขมรหรือประเทศกัมพูชาในสมัยต่อมา ปรากฏอยู่ในพระราชพงศาวดารเขมรหลายเล่ม ซึ่ง (ล้วน) แต่งขึ้นในต้นหรือกลางพุทธศตวรรษที่ 24
พระเจ้าแตงหวาน ประวัติศาสตร์อันเลือนลางก่อนเมืองพระนครถูกทิ้งร้าง
ยังถกเถียงกันอยู่มากว่าพระเจ้าอู่ทองคือใคร มาจากไหน ที่สอนกันมานานว่ามาจากเมืองอู่ทอง สุพรรณบุรีนั้น บัดนี้สรุปกันได้แล้วว่าผิด เพราะเมืองอู่ทองเป็นเมืองร้างมาก่อนหน้านี้แล้วสองร้อยปี อีกทั้งเป็นเมืองเล็กมีคนประมาณ ๕ หมื่นเท่านั้น แต่อยุธยาเริ่มต้นก็มีพลเมืองสามแสนแล้ว ถามว่าเอาคนสามแสนมาจากไหนในละแวกนั้น
พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างเมืองอยู่ ๑๔ ปี พอสร้างเสร็จแทนที่จะเฉลิมฉลอง พักผ่อนไพร่พล กลับยกทัพไปตีเมืองพระนครทันที (เมืองเสียมเรียบ) ซึ่งผิดวิสัยมาก เพราะเป็นเมืองเล็กๆ สร้างใหม่ ไฉนเลยจะกล้าไปตีเมืองใหญ่เก่าแก่ที่มีกองทัพเกรียงไกรเช่นพระนคร ซึ่งประเพณีการสงครามเดิมมานั้นมีแต่เมืองเก่าใหญ่จะยกทัพมาถล่มเมืองสร้างใหม่ เพื่อไม่ให้เป็นศูนย์อำนาจมาแข่งบารมี
ที่พระเจ้าอู่ทองยกทัพไปตีเขมรนั้นเป็นเพราะทรงแค้นใจหนักที่อัดอั้นมานาน ๑๔ ปีไงเล่า ทรงต้องรีบเพราะทรงชราภาพมากแล้ว เกรงว่าจะล้างแค้นเขมรไม่ทันที่พวกมันฆ่าวรมันตายเรียบนั่นไง
พอรบชนะเขมรเบ็ดเสร็จ ก็ทรงสร้างเมือง “อู่ทองมีชัย” (อุดงเมียนเชย ในวันนี้) เข้าใจว่าทรงตั้งชื่อนี้เพื่อข่มนาม “เสียมเรียบ” นั่นเอง เมืองนี้จำลองแบบไปจากอยุธยา และกลายเป็นเมืองหลวงเขมรนานถึง ๒๐๐ กว่าปี จนขณะนี้กลายเมืองมรดกโลกไปแล้ว
พระเจ้าอู่ทองเป็นขอม ดังนั้นเมื่อมาอยุธยาก็ทรงพูดภาษาขอม จึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมคำราชาศัพท์ของเราวันนี้จึงเต็มไปด้วยภาษาขอมและสันสกฤต เป็นเพราะสืบทอดมาจากภาษาพระเจ้าอู่ทองนี่เอง ส่วนเขมรเป็นทาสขอมมานานก็ย่อมรับเอาภาษาขอมไปพูดด้วยเป็นธรรมดา อย่าลืมด้วยว่าภาษาขอมเองก็ยืมเอาคำ “ไต” ไปใช้มากพอกัน
เทคโนโลยีการตัดหิน ลากหิน สลักหินนั้นชาวขอมพิมาย ลพบุรี ได้ฝึกปรือมานานก่อนสร้างนครวัด นครธม เช่น ปราสาทหินพิมาย ก็สร้างก่อนนครวัด โดยตัดหินมาจากอ.สีคิ้ว แล้วลากไปอีก ๑๐๐ กม. เพื่อไปสร้างที่พิมาย คนเขมรเย็บผ้ายังไม่เป็นแล้วจะตัดลากยกหินก้อนมหึมาเหล่านี้เป็นหรือ
มีอีก👇
https://mgronline.com/daily/detail/9560000020698
ชื่อปราสาทต่างๆ ในนครวัด นครธม ยังมีร่องรอยภาษาสยามแทบทุกแห่ง เช่น พิมานอากาศ นาคพัน ปักษีจำกรง เชื้อสายเทวดา เสาเปรต พระรูป ตาแก้ว ตาพรม
เพิ่มเติม
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สถาปนา “นครวัด” เรารู้ได้ไง ในเมื่อไม่มีจารึกบอก?
หายากมากข้อมูลบ้างเว็บไซต์ไม่ตรงกันเลย
วิกิพีเดียพ้นไปเลยยยยย
เอาเว็บนี้เป็นหลักจากนั้นหาเพิ่ม
https://mgronline.com/daily/detail/9560000020698