เเว่วเสียงพิณ เรื่อง ละครช่องใหญ่ ลดกำลังผลิต ลดต้นทุน ลดทุกอย่าง เเต่ ณ วันนี้ก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะฟื้น จากสภาวะ วิกฤต ในยุคที่ ประชาชน คนดู มีสิทธิ์เลือก รวมถึง ช่องทาง เเพลตฟอร์มต่างที่มีมากมาย
หลายช่องจึงเลือกที่จะรีรันละคร เป็นทางออกที่ตอบโจทย์ ง่ายที่สุด
สมัยก่อน การรีรันละคร จะโอกาสเพียง 1-2ครั้ง เช่น ละครหลังข่าว มักจะนิยมรีรัน ในช่วงบ่าย ถัดจากละครออนเเอร์ไปเเล้ว 1-2ปี
เเต่ยุคนี้ กระบวนการรีรัน คือ ลดต้นทุน รีรันอย่างต่ำ2ครั้ง บางเรื่อง 3-4ครั้ง รีรันจนม้วนเทป ม้วนฟิลม์(เรียกเเบบประชด) ยานจนเอามาซ้ำไม่ได้555
เเฟนๆคลับต้องเข้าใจ หลายผู้ผลิตถึงกับกุมขมับ ที่ช่องใหญ่ลดต้นทุน เเถมบางรายโดน ลดการผลิต ช่องใหญ่ ใช้คณะกรรมการ ในการตรวจ ทั้งพล็อต บทละคร สกรีนเเล้ว สกรีนอีก กว่าจะคัดกรองออกมาเป็นละคร 1 เรื่อง
ต่างจากยุคอนาล็อค ที่ผู้ผลิตบางเจ้า มีงานละครปีละหลายเรื่อง เสนอละครช่องเรื่องใด ผ่านอนุมัติทุกเรื่อง
ยุคข้าวยากหมากเเพง ยุคต้มยำกุ้ง ยุคฟ้องสบูเเตก ยุคจำนำข้าว ผ่านมาหมดเเล้ว เเต่ยุคหลังโควิคนี้สิ เป็นอะไรที่ฝั่งทีวี สื่อ บ้านเรา ยังหาทางออกไม่เจอ
จะเห็นได้จาก ผู้หลิตบางเจ้า ล้มหายตายจากลงไป บ้างก็กลับไปนอนตีพุง บ้างก็เลิกทำละคร เพราะช่องสกรีนงาน เเละเลือกอนุมัติละคร บางเรื่องเท่านั้น ไม่ใช่ยุคก่อน ที่อยากทำเรื่องอะไร ก็ ทำได้ ทำเเล้วดองในโหล ยุคนี้ไม่สามารถทำได้
ช่องใหญ่บิ๊กๆ ที่ริเริ่มลดต้นทุนมาก่อน สายรายงาน เรื่องงบละคร ที่ตัดเเล้ว ตัดอีก ละครเย็นจากเดิม 20ล้าน++ ก็ลดเหลือ18ล้าน ละครหลังข่าวก็ลดเหลือ20ล้าน+ นิด มาวันนี้ เเฟนช่องคงเข้าใจเเล้วว่า ทำไม เพราะอะไร
ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี คนดูมีทางเลือก วงการสื่อ โทรทัศน์ คงใช้วิธีการรีรัน ต่อไปเรื่อยๆ เพราะลดต้นทุนได้ดีมาก
ในเมื่อละครใหม่ ยังหาโฆษณาไม่ได้ หรือหาเเล้วยังไม่คุ้มทุนผลิต ก็ต้องรีรันละครเก่า เพื่อชดเชยกันต่อไป
ละคร 1 เรื่อง ใช้ทุนผลิตระดับสิบล้าน บางเรื่อง งบถึง90-100 ก็มี
ในยุคนี้ เเฟนช่อง อย่าสาป อย่างด่ากันเลยครับ เพราะทำธุรกิจ ยังไงเขาก็ต้องการกำไร จะให้ขาดทุน คงเป็นไปไม่ได้
เอาใจช่วยพี่น้องสื่อ วงการทีวีไทย ให้ผ่านพ้นช่วงวิกฤตนี้ไปให่ได้ เกรงว่า อีกไม่กี่ปี ทีวีดิจิตัล จะเหลือไม่ถึงสิบช่องนี้สิ ไม่เกินจริง
วิกฤต ละครไทย โฆษณาไม่เข้า ลดกำลังผลิต ลดต้นทุน ในยุคที่คนดูมีทางเลือก
หลายช่องจึงเลือกที่จะรีรันละคร เป็นทางออกที่ตอบโจทย์ ง่ายที่สุด
สมัยก่อน การรีรันละคร จะโอกาสเพียง 1-2ครั้ง เช่น ละครหลังข่าว มักจะนิยมรีรัน ในช่วงบ่าย ถัดจากละครออนเเอร์ไปเเล้ว 1-2ปี
เเต่ยุคนี้ กระบวนการรีรัน คือ ลดต้นทุน รีรันอย่างต่ำ2ครั้ง บางเรื่อง 3-4ครั้ง รีรันจนม้วนเทป ม้วนฟิลม์(เรียกเเบบประชด) ยานจนเอามาซ้ำไม่ได้555
เเฟนๆคลับต้องเข้าใจ หลายผู้ผลิตถึงกับกุมขมับ ที่ช่องใหญ่ลดต้นทุน เเถมบางรายโดน ลดการผลิต ช่องใหญ่ ใช้คณะกรรมการ ในการตรวจ ทั้งพล็อต บทละคร สกรีนเเล้ว สกรีนอีก กว่าจะคัดกรองออกมาเป็นละคร 1 เรื่อง
ต่างจากยุคอนาล็อค ที่ผู้ผลิตบางเจ้า มีงานละครปีละหลายเรื่อง เสนอละครช่องเรื่องใด ผ่านอนุมัติทุกเรื่อง
ยุคข้าวยากหมากเเพง ยุคต้มยำกุ้ง ยุคฟ้องสบูเเตก ยุคจำนำข้าว ผ่านมาหมดเเล้ว เเต่ยุคหลังโควิคนี้สิ เป็นอะไรที่ฝั่งทีวี สื่อ บ้านเรา ยังหาทางออกไม่เจอ
จะเห็นได้จาก ผู้หลิตบางเจ้า ล้มหายตายจากลงไป บ้างก็กลับไปนอนตีพุง บ้างก็เลิกทำละคร เพราะช่องสกรีนงาน เเละเลือกอนุมัติละคร บางเรื่องเท่านั้น ไม่ใช่ยุคก่อน ที่อยากทำเรื่องอะไร ก็ ทำได้ ทำเเล้วดองในโหล ยุคนี้ไม่สามารถทำได้
ช่องใหญ่บิ๊กๆ ที่ริเริ่มลดต้นทุนมาก่อน สายรายงาน เรื่องงบละคร ที่ตัดเเล้ว ตัดอีก ละครเย็นจากเดิม 20ล้าน++ ก็ลดเหลือ18ล้าน ละครหลังข่าวก็ลดเหลือ20ล้าน+ นิด มาวันนี้ เเฟนช่องคงเข้าใจเเล้วว่า ทำไม เพราะอะไร
ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี คนดูมีทางเลือก วงการสื่อ โทรทัศน์ คงใช้วิธีการรีรัน ต่อไปเรื่อยๆ เพราะลดต้นทุนได้ดีมาก
ในเมื่อละครใหม่ ยังหาโฆษณาไม่ได้ หรือหาเเล้วยังไม่คุ้มทุนผลิต ก็ต้องรีรันละครเก่า เพื่อชดเชยกันต่อไป
ละคร 1 เรื่อง ใช้ทุนผลิตระดับสิบล้าน บางเรื่อง งบถึง90-100 ก็มี
ในยุคนี้ เเฟนช่อง อย่าสาป อย่างด่ากันเลยครับ เพราะทำธุรกิจ ยังไงเขาก็ต้องการกำไร จะให้ขาดทุน คงเป็นไปไม่ได้
เอาใจช่วยพี่น้องสื่อ วงการทีวีไทย ให้ผ่านพ้นช่วงวิกฤตนี้ไปให่ได้ เกรงว่า อีกไม่กี่ปี ทีวีดิจิตัล จะเหลือไม่ถึงสิบช่องนี้สิ ไม่เกินจริง