เดียวดายสิบสองเดือน
พระเยาวราชรำพัน
ถอดความจาก โคลงทวาทค่มาล่ สำนวนพระเยาวราช
คำ “เยาวราช” ในโคลงบทนี้คือ “พระเยาวราช” ผู้เป็น พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระสนมเป็นมารดา ปรากฏศักดิ์ตำแหน่งอยู่ใน “กำหนดพระราชกฤษฎีกาไอยการ (๗) พระราช กุมาร พระราชนัดดา” ว่า
“ฝ่ายพระราชกุมารเกิดด้วยพระอัคมเหษี คือ สมเดจ์พระหน่อพระพุทธเจ้า อันเกิดด้วยแม่หยัวเมือง เป็นพระมหาอุปราช เกิดด้วยลูกหลวง กินเมืองเอก เกิดด้วยหลานหลวง กินเมืองโท เกิดด้วยพระสนมเป็นพระเยาวราช”
โคลงทวาทศมาส ฉบับพระเยาวราช
แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
แห่งกรุงศรีอยุธยา มี ๒๖๐ บท
บทที่ ๑ ถึง ๕ กล่าวสดุดีพระเป็นเจ้าแห่งศาสนา
ฮินดู และกล่าวยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ไทย
บทที่ ๖ ถึง ๒๗ กล่าวพรรณาถึงนางอันเป็นที่รัก
ที่ต้องพรากจากมาและคร่ำครวญถวิลหาความ
สุขที่ได้ร่วมอภิรมณ์สังวาสกันมา รอวันเวลาที่
จะได้กลับมาพบหน้าอยู่ร่วมกันอีก
บทที่ ๒๘ จะพรรณาถึงเดือนทั้งสิบสองเดือน โดยเริ่มต้นที่เดือน ๕ อันเป็นเดือนแรกตามคติไทยแต่โบราณ เรื่อยไปจนจบ
บทที่ ๑
ขอสรรเสริญแด่พระผู้ประทับบนบัลลังค์บัวเหนือสวรรค์ ผู้กำเนิดจากสะดือพระวิษณุส่องแสงพระรัตนไตรขึ้นเหนือเศียร เปรียบเสมือนช่อดอกไม้งามเบ่งบานไปทั่วสรวงสวรรค์
บทที่ ๒
พระนารายณ์ผู้ทรงจักรได้อวตารเป็นพระกฤษณเป็นจักรพรรดิได้เสวยความรื่นรมย์ในสังสารภพ พิทักษ์โลกโปรดสัตว์ให้พ้นทุกข์ มีความสุขความรื่นรมย์ตามวิถีแห่งกาม
บทที่ ๓
หมายเหตุ นำมาลงเพื่อจองชื่อเอาไว้ก่อน
ก่อน กว่าจะจบ ๒๖๐ บท คงอีกนาน
เดียวดายสิบสองเดือน พระเยาวราชรำพัน
พระเยาวราชรำพัน
ถอดความจาก โคลงทวาทค่มาล่ สำนวนพระเยาวราช
คำ “เยาวราช” ในโคลงบทนี้คือ “พระเยาวราช” ผู้เป็น พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระสนมเป็นมารดา ปรากฏศักดิ์ตำแหน่งอยู่ใน “กำหนดพระราชกฤษฎีกาไอยการ (๗) พระราช กุมาร พระราชนัดดา” ว่า
“ฝ่ายพระราชกุมารเกิดด้วยพระอัคมเหษี คือ สมเดจ์พระหน่อพระพุทธเจ้า อันเกิดด้วยแม่หยัวเมือง เป็นพระมหาอุปราช เกิดด้วยลูกหลวง กินเมืองเอก เกิดด้วยหลานหลวง กินเมืองโท เกิดด้วยพระสนมเป็นพระเยาวราช”
โคลงทวาทศมาส ฉบับพระเยาวราช
แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
แห่งกรุงศรีอยุธยา มี ๒๖๐ บท
บทที่ ๑ ถึง ๕ กล่าวสดุดีพระเป็นเจ้าแห่งศาสนา
ฮินดู และกล่าวยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ไทย
บทที่ ๖ ถึง ๒๗ กล่าวพรรณาถึงนางอันเป็นที่รัก
ที่ต้องพรากจากมาและคร่ำครวญถวิลหาความ
สุขที่ได้ร่วมอภิรมณ์สังวาสกันมา รอวันเวลาที่
จะได้กลับมาพบหน้าอยู่ร่วมกันอีก
บทที่ ๒๘ จะพรรณาถึงเดือนทั้งสิบสองเดือน โดยเริ่มต้นที่เดือน ๕ อันเป็นเดือนแรกตามคติไทยแต่โบราณ เรื่อยไปจนจบ
บทที่ ๑
ขอสรรเสริญแด่พระผู้ประทับบนบัลลังค์บัวเหนือสวรรค์ ผู้กำเนิดจากสะดือพระวิษณุส่องแสงพระรัตนไตรขึ้นเหนือเศียร เปรียบเสมือนช่อดอกไม้งามเบ่งบานไปทั่วสรวงสวรรค์
บทที่ ๒
พระนารายณ์ผู้ทรงจักรได้อวตารเป็นพระกฤษณเป็นจักรพรรดิได้เสวยความรื่นรมย์ในสังสารภพ พิทักษ์โลกโปรดสัตว์ให้พ้นทุกข์ มีความสุขความรื่นรมย์ตามวิถีแห่งกาม
บทที่ ๓
หมายเหตุ นำมาลงเพื่อจองชื่อเอาไว้ก่อน
ก่อน กว่าจะจบ ๒๖๐ บท คงอีกนาน