สงกรานต์ มาจาก ภาษาสันสกฤต ว่า สํ - กรานต แปลว่า ก้าวขึ้น ย่างขึ้น หรือก้าวขึ้น การย้ายที่ เคลื่อนที่
คือ พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ ราศีใหม่ หมายถึง วันขึ้นปีใหม่ ซึ่งตกอยู่ในวันที่ ๑๓, ๑๔, ๑๕ เมษายนทุกปี
แต่วันสงกรานต์นั้นคือ วันที่ ๑๓ เมษายน เรียกว่า วันมหาสงกรานต์ วันที่ ๑๔ เป็นวันเนา แปลว่า วันอยู่
หมายความว่า เป็นวัน ถัดจากวันมหาสงกรานต์มาหนึ่งวัน วันมหาสงกรานต์เป็นวันที่ดวงอาทิตย์
ย่างสู่ราศีตั้งต้นปีใหม่ วันเนา เป็นวันที่ดวงอาทิตย์เข้าที่เข้าทาง ในวันราศีตั้งต้นใหม่เรียบร้อยแล้ว
คืออยู่ประจำที่แล้ว ส่วนวันที่ ๑๕ เป็นวันเถลิงศก เป็นวันเปลี่ยนจุลศักราชใหม่
คำว่า "สงกรานต์" เราเองก็ยืมภาษาสันสกฤตมาใช้ ดังนั้นถ้าเขมรเขาจะใช้ "สงกรานต์" ก็มีสิทธิ์ใช้ได้
แต่จะมาบอกว่า เป็นภาษาเขมร แล้วมาบอกว่า ไทยขโมยเขา อันนี้น่าโกรธอยู่
ไทย ลาว เขมร พม่า เชียงรุ้ง เชียงตุง ต่างก็ได้รับอิทธิพลมาจาก พราหมณ์ ฮินดู และ พุทธศาสนา
ประเพณีสงกรานต์ มีเหมือนกันหมด แต่แตกต่างในรายละเอียด การดำรงค์รักษาการพัฒนาต่อยอด
ซึ่งไทยดำรงค์คงอยู่ และ ทำได้ดีกว่าทุกประเทศในระแวกนี้ ไม่เฉพาะสงกรานณ์ รวมไปถึงทุกวัฒนธรรมและประเพณี
✤ เมื่อเขมรหันมาใช้คำว่า "สงกรานต์" ทำไมคนไทยบางส่วนไม่พอใจ !!???
คือ พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ ราศีใหม่ หมายถึง วันขึ้นปีใหม่ ซึ่งตกอยู่ในวันที่ ๑๓, ๑๔, ๑๕ เมษายนทุกปี
แต่วันสงกรานต์นั้นคือ วันที่ ๑๓ เมษายน เรียกว่า วันมหาสงกรานต์ วันที่ ๑๔ เป็นวันเนา แปลว่า วันอยู่
หมายความว่า เป็นวัน ถัดจากวันมหาสงกรานต์มาหนึ่งวัน วันมหาสงกรานต์เป็นวันที่ดวงอาทิตย์
ย่างสู่ราศีตั้งต้นปีใหม่ วันเนา เป็นวันที่ดวงอาทิตย์เข้าที่เข้าทาง ในวันราศีตั้งต้นใหม่เรียบร้อยแล้ว
คืออยู่ประจำที่แล้ว ส่วนวันที่ ๑๕ เป็นวันเถลิงศก เป็นวันเปลี่ยนจุลศักราชใหม่
คำว่า "สงกรานต์" เราเองก็ยืมภาษาสันสกฤตมาใช้ ดังนั้นถ้าเขมรเขาจะใช้ "สงกรานต์" ก็มีสิทธิ์ใช้ได้
แต่จะมาบอกว่า เป็นภาษาเขมร แล้วมาบอกว่า ไทยขโมยเขา อันนี้น่าโกรธอยู่
ไทย ลาว เขมร พม่า เชียงรุ้ง เชียงตุง ต่างก็ได้รับอิทธิพลมาจาก พราหมณ์ ฮินดู และ พุทธศาสนา
ประเพณีสงกรานต์ มีเหมือนกันหมด แต่แตกต่างในรายละเอียด การดำรงค์รักษาการพัฒนาต่อยอด
ซึ่งไทยดำรงค์คงอยู่ และ ทำได้ดีกว่าทุกประเทศในระแวกนี้ ไม่เฉพาะสงกรานณ์ รวมไปถึงทุกวัฒนธรรมและประเพณี