ประวัติศาสตร์การศึกษาไทยซึ่งต้องชำระ เนื่องจากการนำเข้าข้อมูลอันเท็จในระบบคอมพิวเตอร์ผิดกฎหมายในปัจจุบัน
1)สภาการศึกษาตั้งแต่สมัย นายรุ่ง แก้วแดง มีการนำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จอย่างมหาศาล เริ่มตั้งแต่การจ้างนักวิชาการต่างชาติ แปล และ เขียนบทความ ให้คนต่างชาติและคนไทยเข้าใจว่ามีการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาครั้งสำคัญ ในปี 2542 ทั้งๆที่ ไม่เป็นความจริง กฎหมายการศึกษา2542 เป็นเพียงกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ด้านการศึกษา ซึ่งรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย2540ได้กำหนดให้มีการออกหมายลูกเพื่อประชาชนในทุกมิติเพื่อปฏิรูปประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการใช้กฎหมายตัดสินแทนปืน ตามธรรมเนียมซึ่งเคยปฏิบัติกันในชนบทไทย ก่อนปี2540
กฎหมายการศึกษา2542ไม่ใช่การปฏิรูปการศึกษาไทย และ แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่21 คือการปฏิรูปการศึกษาไทย รวมทั้งโรงเรียนนิติบุคคล หรือ SCHOOL Based Management ในประเทศไทยเริ่มต้นเตั้งแต่การปฏิรูปการศึกษา2538 ระบบการศึกษาซึ่งใกล้เคียงกับการปฏิรูปการศึกษา2538ของไทย คือระบบของประเทศฟินแลนด์ ในขณะที่กฎหมายการศึกษา2542 ตัดหัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษา2538 เช่นการกระจายงบประมาณ การะจายอำนาจด้วยโรงเรียนนิติบุคคลทิ้ง อ้างว่าครูไม่โปร่งใส ลอกไปเฉพาะเป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ ตัวอย่างเอกสารซึ่งอ้างอิงเอกสาร นำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จของสภาการศึกษา
http://www.awc.ac.th/awcdata/research/18.pdf
2)โรงเรียนนิติบุคคล
สภาการศึกษาอ้างว่า ระบบโรงเรียนนิติบุคคลเป็นแนวคิดของสหรัฐอเมริกายุค 80 และ เข้ามาในประเทศไทยในปี 2545 ซึ่งเป็นเท็จ
หลักฐานคำพูดบิดาของข้าพเจ้า ผู้ตั้งชื่อการกระจากอำนาจการบริหารการศึกษา ว่าโรงเรียนนิติบุคคล ในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย2538 ว่ากระจายอำนาจการบริหารสถานศึกษาด้วยความเชื่อในความรักของผู้ปกครองกับนักเรียน
By decentralization I mean empowering local communities to take responsibility of their children’s education by giving them budget authority, a voice in the curricula and participation in staffing decisions.
This approach is grounded in the belief that parents care most about their children’s education and, given the chance, they can provide enormous support for, and oversight of, our educational system.
Now to those of you from the West, where democratic institutions such as public school boards and parent/teacher associations are the norm, this decentralization of authority may not sound very radical. But it is in Thailand.
The good news is that over the last 18 months nearly 40,000 School Councils have been established, each comprised of 15 people, including the headmaster, teachers, parents and community leaders.
https://www.scribd.com/document/711034653/1995-Sukavich-Rangsitpol-s-Thailand-Education-Revolution
หลักฐานอื่น
Decentralisation And School-Based Management In Thailand
D. Gamage, Pacharapimon Sooksomchitra
Published 1 July 2004
Education
International Review of Education
School-based management (SBM) in Thailand began in 1997 in the course of a reform aimed at overcoming a profound crisis in the education system.
https://www.semanticscholar.org/paper/Decentralisation-And-School-Based-Management-In-Gamage-Sooksomchitra/73d67d185318eaf95a227b8bfb297d2bd6b26750
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 28 กันยายน 2566 ตอนที่ 5
1)สภาการศึกษาตั้งแต่สมัย นายรุ่ง แก้วแดง มีการนำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จอย่างมหาศาล เริ่มตั้งแต่การจ้างนักวิชาการต่างชาติ แปล และ เขียนบทความ ให้คนต่างชาติและคนไทยเข้าใจว่ามีการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาครั้งสำคัญ ในปี 2542 ทั้งๆที่ ไม่เป็นความจริง กฎหมายการศึกษา2542 เป็นเพียงกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ด้านการศึกษา ซึ่งรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย2540ได้กำหนดให้มีการออกหมายลูกเพื่อประชาชนในทุกมิติเพื่อปฏิรูปประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการใช้กฎหมายตัดสินแทนปืน ตามธรรมเนียมซึ่งเคยปฏิบัติกันในชนบทไทย ก่อนปี2540
กฎหมายการศึกษา2542ไม่ใช่การปฏิรูปการศึกษาไทย และ แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่21 คือการปฏิรูปการศึกษาไทย รวมทั้งโรงเรียนนิติบุคคล หรือ SCHOOL Based Management ในประเทศไทยเริ่มต้นเตั้งแต่การปฏิรูปการศึกษา2538 ระบบการศึกษาซึ่งใกล้เคียงกับการปฏิรูปการศึกษา2538ของไทย คือระบบของประเทศฟินแลนด์ ในขณะที่กฎหมายการศึกษา2542 ตัดหัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษา2538 เช่นการกระจายงบประมาณ การะจายอำนาจด้วยโรงเรียนนิติบุคคลทิ้ง อ้างว่าครูไม่โปร่งใส ลอกไปเฉพาะเป้าหมาย และ วัตถุประสงค์ ตัวอย่างเอกสารซึ่งอ้างอิงเอกสาร นำเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จของสภาการศึกษา http://www.awc.ac.th/awcdata/research/18.pdf
2)โรงเรียนนิติบุคคล
สภาการศึกษาอ้างว่า ระบบโรงเรียนนิติบุคคลเป็นแนวคิดของสหรัฐอเมริกายุค 80 และ เข้ามาในประเทศไทยในปี 2545 ซึ่งเป็นเท็จ
หลักฐานคำพูดบิดาของข้าพเจ้า ผู้ตั้งชื่อการกระจากอำนาจการบริหารการศึกษา ว่าโรงเรียนนิติบุคคล ในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย2538 ว่ากระจายอำนาจการบริหารสถานศึกษาด้วยความเชื่อในความรักของผู้ปกครองกับนักเรียน
By decentralization I mean empowering local communities to take responsibility of their children’s education by giving them budget authority, a voice in the curricula and participation in staffing decisions.
This approach is grounded in the belief that parents care most about their children’s education and, given the chance, they can provide enormous support for, and oversight of, our educational system.
Now to those of you from the West, where democratic institutions such as public school boards and parent/teacher associations are the norm, this decentralization of authority may not sound very radical. But it is in Thailand.
The good news is that over the last 18 months nearly 40,000 School Councils have been established, each comprised of 15 people, including the headmaster, teachers, parents and community leaders.
https://www.scribd.com/document/711034653/1995-Sukavich-Rangsitpol-s-Thailand-Education-Revolution
หลักฐานอื่น
Decentralisation And School-Based Management In Thailand
D. Gamage, Pacharapimon Sooksomchitra
Published 1 July 2004
Education
International Review of Education
School-based management (SBM) in Thailand began in 1997 in the course of a reform aimed at overcoming a profound crisis in the education system.
https://www.semanticscholar.org/paper/Decentralisation-And-School-Based-Management-In-Gamage-Sooksomchitra/73d67d185318eaf95a227b8bfb297d2bd6b26750