.
.
© Shutterstock
.
.
Solidigm ธุรกิจด้านข้อมูลคอมพิวเตอร์สหรัฐฯ
ได้คำนวณค่า Pi จุดทศนิยมไม่ซ้ำกัน/ไม่รู้จบ
ได้ที่ 105 ล้านล้านหลัก ซึ่งทำลายสถิติโลก
การคำนวณใช้เวลา 75 วันจึงจะเสร็จสมบูรณ์
และต้องใช้ SSD ถึง 1 ล้าน Gigabyte
การไขปริศนาค่า Pi อันหนักหน่วงนี้
ต้องใช้พลังการประมวลผลเทียบเท่า
กับการใช้ SmartPhone หลายแสนเครื่อง
Pi ซึ่งมักจะมีค่า 3.14 ที่นิยมใช้กัน
มีค่าเป็นจำนวนอตรรกยะ คือ
มีทศนิยมไม่ซ้ำกันไม่รู้จบ (อนันต์)
ค่า Pi เท่ากับเส้นรอบวงของวงกลม
(ระยะห่างรอบขอบ)
หารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง
(ระยะห่างระหว่างจุดสองจุดที่ตรงกันข้ามกัน)
= ถ้าหาเส้นรอบวงของวงกลมใด ๆ ได้
จะรู้เส้นผ่านศูนย์กลางหรือรัศมี
(ครึ่งหนึ่งของเส้นผ่านศูนย์กลาง)
.
.
การไขปริศนาจุดทศนิยมที่ซ่อนอยู่ของ Pi
ไม่มีผลกระทบต่อคณิตศาสตร์อย่างใด
เพราะการคำนวณใช้กันจริงไม่เกินหลักสิบ
เว้นแต่นักวิทยาศาสตร์ของ
NASA
จำเป็นต้องรู้ค่า Pi 15 ตำแหน่งแรกเท่านั้น
3.141592653589793
จึงจะทำความเข้าใจจักรวาลส่วนใหญ่ได้
(น่าจะยึดตามเหล่าโจ้วซือ อาจารย์ทวด
Issac Newton ที่คำนวณค่านี้ไว้ก่อน)
การคำนวณตัวเลขให้ได้ค่าที่แน่นอนที่สุด
กลับถูกใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน BenchMark
ใช้สำหรับ
การทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
และระบบจัดเก็บข้อมูลใหม่ ๆ มานานแล้ว
ทดสอบ Hardware ไม่เดี้ยง/Hang/เอ๋อเหรอ
ถ้ามีการคำนวณทศนิยมขั้นต่ำกี่ตำแหน่ง
น้อยกว่าเกณฑ์แย่ มากกว่าเกณฑ์ เจ๋ง
Software Visicalc, Lotus 123, Excel
ก็มีการทดสอบการคำนวณค่า Pi แข่งกัน
.
.
.
นักวิทยาศาสตร์ NASA
ต้องการค่า Pi ทึ่มีจุดทศนิยม 15 ตัว
มาใช้ในการคำนวณส่วนใหญ่
© NASA Ames/JPL-Caltech/T. Pyle,
Christine Daniloff, MIT
.
.
.
© Getty Images
.
.
ในวัน Pi (14 มีนาคม 2024)
Solidigm ธุรกิจผู้ให้บริการ
จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์สหรัฐอเมริกา
ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รายงานว่า
บริษัทได้คำนวณค่า Pi ที่เป็นจุด
ทศนิยมได้ถึง 105 ล้านล้านตำแหน่ง
เทียบเท่ากับ การพิมพ์ตัวเลข
โดยใช้ตัวอักษรขนาด 10 Point (pt)
พิมพ์ไปเรื่อย ๆ จนหมดผลการคำนวณ
ตัวเลขจะมีความยาว 3.7 พันล้านกิโลเมตร
ระยะทางจากโลกไปยังที่ไหนสักแห่ง
ระหว่างดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
การคำนวณครั้งนี้ใช้เวลา 75 วัน
โดยใช้ Solid-state drives (SSD)
ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัทจำนวน 36 ตัว
ซึ่งเป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่ติดตั้ง
ใน Laptop รุ่นใหม่ล่าสุดจำนวนมาก
ซึ่งเก็บข้อมูลได้ 1 Petabyte (1 ล้าน Gigabyte)
.
.
.
[π Day 2024] WORLD RECORD Pi
Calculation! 105,000,000,000,000
[105 Trillion] Digits
Trillion สหรัฐ/ฝรั่งเศส ล้านล้าน
อังกฤษ(รุ่นดิ The Old) สามล้านล้าน
.
.
Processors ยังจำเป็นสำหรับ
ใช้ในการประมวลผลตัวเลข
ด้วยชิ้นส่วนประกอบที่มีประสิทธิภาพ
ยิ่งมากขึ้นเท่าไร จะช่วยลดเวลา
ที่ใช้ในการคำนวณที่จำเป็นได้เร็วขึ้น
อย่างไรก็ตาม พื้นที่จัดเก็บข้อมูล
ที่เชื่อถือได้และความจุขนาดใหญ่
มีความสำคัญมากกว่า
เพราะจำเป็นต้องจัดเก็บข้อมูล
จำนวนมหาศาลในกระบวนการดังกล่าว
" ความสำเร็จครั้งนี้ ไม่ใช่ความสำเร็จ
เพียงแค่เล็ก ๆ น้อย ๆ (จิ๊บ จิ๊บ)
มันเกี่ยวข้องกับการวางแผน
อย่างพิถีพิถัน การเพิ่มประสิทธิภาพ
และการดำเนินการ (ประมวลผล) ”
Brian Beeler ผู้บริหาร Solidigm ให้สัมภาษณ์
.
.
.
.
.
สถิติที่ผ่านมาในการหาค่า Pi
.
.
ในเดือนเมษายน ปี 2023
Solidigm หาค่า Pi ได้ 100 ล้านล้านหลัก
เท่ากับ
Google Cloud ในปี 2022
.
.
.
.
.
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2021
นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ที่
University of Applied Sciences of the Grisons
ได้ทำลายสถิติค่า Pi ที่แม่นยำที่สุด
ด้วยทศนิยมมากกว่า 62 ล้านล้านตำแหน่ง
โดยใช้คอมพิวเตอร์ฉายา DAViS ที่
Competence Center for Data Analysis
ที่ใช้สร้างภาพ/การจำลอง คำนวณค่า Pi
“ การทำลายสถิติเป็นเพียงผลพลอยได้
จากงานวิจัยของเรา ในการเตรียม
โครงสร้างพื้นฐานคอมพิวเตอร์
ประสิทธิภาพสูงสำหรับงาน
ด้านการวิจัยและพัฒนา ”
Thomas Keller ให้สัมภาษณ์
.
.
.
.
.
ในปี 2020
สถิติค่า Pi ที่ 50 ล้านล้านหลัก
โดย
Timothy Mullican
จาก Huntsville รัฐ Alabama
ที่ใช้ Personal Computer
.
.
DAViS Computer ทำลายสถิติของ
Timothy Mullican ที่ใช้เวลา 303 วัน
โดยใช้เวลาเพียง 1/3 ของเวลาเดิม
คิดเป็น 108 วัน 9 ชั่วโมง
แม้ว่าจะใช้
Algorithm แบบเดียวกัน
ในการคำนวณหาค่า Pi ก็ตาม
(Google เดิมใช้ Algorithm ในการค้นหา
มี Algorithm 16 แบบ+เงื่อนไขในค้นหา
แต่ปัจจุบันพัฒนาไปไกลกว่าเดิมมาก
เพราะประสิทธิภาพเครื่อง/ฐานข้อมูลดีขึ้น
ลำดับแรกมักมอบใหัผู้มีอุปการะคุณ(จ่ายเบึ้ย)
รองลงมาหัวข้อ/Www wait wait wait
ที่มีคนค้นหากันมากที่สุด
โดยนับจาก Cookies เสี่ยงทายที่เก็บไว้
โดย Google ดึงประมวลผลได้จากฐานข้อมูล
สะสมจากเครื่องทึ่คนค้นหาทั่วโลก
ถ้าใครเป็นสมาชิก Gmail ให้ความยินยอมไว้
ชอบค้นหาเรื่องอะไร และค้นหาบ่อย ๆ
อากู๋จะช่วยจดจำบันทึกไว้ที่ไอ้คล้าว Cloud
ก่อนดึงลงมาประมวลผลกับ Algorithm
จึงมักจะได้เรื่องราวที่สนใจ/ตรงประเด็น
แบบถูกกับรัดดวง ริสซึ่ ริดสีดวงทวาร
(หนังตลุง คือ ได้แรงอก ถึงอกถึงใจ
แบบคนมาโซดิส อาการแสบ ๆ เจ็บ ๆ มัน ๆ)
แต่ใครที่เข้ากลุ่มนิรนาม หนังชมพู บ่อย ๆ
ระวังเปิด Google ให้คนรอบข้างดู
อาจจะหน้าแหก หมอไม่รับเย็บได้
เว้นแต่เข้า Browser private/incognito
จะไม่จดจำค่าต่าง ๆ เหมือนเข้าแบบทั่วไป
ทึ่มีลักษณะอยากลืมกลับจำ อยากจำกลับลืม
.
.
.
อยากลืมกลับจำ
.
.
.
Computer DAViS
มีประสิทธิภาพเหนือกว่า
เจ้าของสถิติก่อนหน้านี้
ด้วยการเพิ่ม RAM
หน่วยความจำเข้าถึงโดยการสุ่ม
“ การคำนวณจุดทศนิยม
62.8 ล้านล้านตำแหน่ง
ต้องใช้ RAM ประมาณ 316 terabyte
(ประมาณ 324,500 gigabyte)
ตามความรู้ของเรา (ในเวลานั้น)
เราไม่สามารถซื้ออุปกรณ์ดังกล่าวได้
และหากทำได้ ก็จะมีราคาแพงมาก "
ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงใช้ Harddisk
เพื่อเพิ่ม
RAM ในการคำนวณแทน
แม้ว่านักวิจัยวางแผนที่จะใช้คอมพิวเตอร์
ที่ทำการคำนวณเพื่อทำการคำนวณ
พลศาสตร์ของไหล การเรียนรู้เชิงลึก
และการวิเคราะห์
RNA ในอนาคต
แต่ทีมงานไม่มีแผนที่จะคำนวณ
ค่าทศนิยมของ Pi อีกต่อไป
และมั่นใจว่าอีกไม่นานนัก
จะมีคนมาแย่งตำแหน่งสถิตินี้ไปได้
เมื่อพิจารณาจากสถิติที่ผ่านมา
ผมคาดหวังว่าจะมีคนพยายาม
ทำลายสถิติครั้งต่อไป
น่าจะประสบความสำเร็จ
ภายในอีก 2 ปีข้างหน้า ”
Thomas Keller ให้ความเห็น
.
.
.
.
การใช้คอมพิวเตอร์(สมอง)ของคนเรา
สถิติโลกปัจจุบันสำหรับตัวเลข Pi
ที่คนทำได้มากที่สุดคือ 70,030
โดย Sharma Suresh Kumar
เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2015
ชนะ Rajveer Meen
ที่ทำได้ถึง 70,000
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2015
ตามข้อมูล
Pi Wirld Ranking List
.
.
.
.
แม้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้
คอมพิวเตอร์จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
คนเราจะพบค่า Pi ที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน
แต่ไม่ว่าคอมพิวเตอร์จะทรงพลังแค่ไหน
คนเราคงไม่สามารถคลี่คลาย
จำนวนทศนิยมไม่รู้จบทั้งหมดได้
เพราะธรรมชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุดของค่า Pi
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://tinyurl.com/ms4mw8es
.
.
.
ผู้เขียนบทความ
.
.
.
.
Isaac Newton
ใช้อนุกรมอนันต์ หาค่า Pi π
ได้ทศนิยม 15 หลัก ท่านบันทึกว่า
" ผมค่อนข้างอายที่จะสารภาพว่า
ผมคำนวณตัวเลขได้ไม่กี่หลัก "
ท่านเคยติดดอย/เจ๊งกับหุ้น
บางคนว่าเก็งกำไร Futures ใน
South Sea Company
กองเรือสินค้าจากตะวันออกไกล
ที่ดูดีมีกำไรงดงาม ใครถือไว้จะร่ำรวย
ถ้าเป็นไปตามผลวิเคราะห์กิจการ
สุดท้ายกลายเป็นรายการต้มหมูจนสุก
ปั่นหุ้น ปั่น Futures กันบานตะไท
ใครเข้าก่อน ออกก่อนมีกำไร
ใครลุกขึ้นช้าสุด จ่ายรอบวง
จนท่านบรรลุสัจธรรมว่า
“ ผมคำนวณการเคลื่อนที่
ของบรรดาดวงดาวได้
แต่ผมไม่สามารถคำนวณ
ความบ้าคลั่งของฝูงชนได้ ”
ท่านเขียน Calculus เป็นภาษาละติน
จากจดหมายโต้ตอบกับเพื่อนซี้
Gottfried Wilhelm Leibniz สรุปว่า
“ ไม่ได้เขียนให้คนโง่อ่าน ”
เพราะรำคาญพวกหิวแสง พวกโชว์พาว
พวกคริสต์สุดโต่งที่ชอบใช้ศาลศาสนา
กลั่นแกล้งคนอื่น เช่น กาลิเลโอ
.
สถิติโลกค่า Pi ได้ 105 ล้านล้านหลัก
.
© Shutterstock
.
Solidigm ธุรกิจด้านข้อมูลคอมพิวเตอร์สหรัฐฯ
ได้คำนวณค่า Pi จุดทศนิยมไม่ซ้ำกัน/ไม่รู้จบ
ได้ที่ 105 ล้านล้านหลัก ซึ่งทำลายสถิติโลก
การคำนวณใช้เวลา 75 วันจึงจะเสร็จสมบูรณ์
และต้องใช้ SSD ถึง 1 ล้าน Gigabyte
การไขปริศนาค่า Pi อันหนักหน่วงนี้
ต้องใช้พลังการประมวลผลเทียบเท่า
กับการใช้ SmartPhone หลายแสนเครื่อง
Pi ซึ่งมักจะมีค่า 3.14 ที่นิยมใช้กัน
มีค่าเป็นจำนวนอตรรกยะ คือ
มีทศนิยมไม่ซ้ำกันไม่รู้จบ (อนันต์)
ค่า Pi เท่ากับเส้นรอบวงของวงกลม
(ระยะห่างรอบขอบ)
หารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง
(ระยะห่างระหว่างจุดสองจุดที่ตรงกันข้ามกัน)
= ถ้าหาเส้นรอบวงของวงกลมใด ๆ ได้
จะรู้เส้นผ่านศูนย์กลางหรือรัศมี
(ครึ่งหนึ่งของเส้นผ่านศูนย์กลาง)
.
.
.
.
.
.
การไขปริศนาจุดทศนิยมที่ซ่อนอยู่ของ Pi
ไม่มีผลกระทบต่อคณิตศาสตร์อย่างใด
เพราะการคำนวณใช้กันจริงไม่เกินหลักสิบ
เว้นแต่นักวิทยาศาสตร์ของ NASA
จำเป็นต้องรู้ค่า Pi 15 ตำแหน่งแรกเท่านั้น
3.141592653589793
จึงจะทำความเข้าใจจักรวาลส่วนใหญ่ได้
(น่าจะยึดตามเหล่าโจ้วซือ อาจารย์ทวด
Issac Newton ที่คำนวณค่านี้ไว้ก่อน)
การคำนวณตัวเลขให้ได้ค่าที่แน่นอนที่สุด
กลับถูกใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน BenchMark
ใช้สำหรับ การทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
และระบบจัดเก็บข้อมูลใหม่ ๆ มานานแล้ว
ทดสอบ Hardware ไม่เดี้ยง/Hang/เอ๋อเหรอ
ถ้ามีการคำนวณทศนิยมขั้นต่ำกี่ตำแหน่ง
น้อยกว่าเกณฑ์แย่ มากกว่าเกณฑ์ เจ๋ง
Software Visicalc, Lotus 123, Excel
ก็มีการทดสอบการคำนวณค่า Pi แข่งกัน
.
.
นักวิทยาศาสตร์ NASA
ต้องการค่า Pi ทึ่มีจุดทศนิยม 15 ตัว
มาใช้ในการคำนวณส่วนใหญ่
© NASA Ames/JPL-Caltech/T. Pyle,
Christine Daniloff, MIT
.
.
.
© Getty Images
.
ในวัน Pi (14 มีนาคม 2024)
Solidigm ธุรกิจผู้ให้บริการ
จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์สหรัฐอเมริกา
ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รายงานว่า
บริษัทได้คำนวณค่า Pi ที่เป็นจุด
ทศนิยมได้ถึง 105 ล้านล้านตำแหน่ง
เทียบเท่ากับ การพิมพ์ตัวเลข
โดยใช้ตัวอักษรขนาด 10 Point (pt)
พิมพ์ไปเรื่อย ๆ จนหมดผลการคำนวณ
ตัวเลขจะมีความยาว 3.7 พันล้านกิโลเมตร
ระยะทางจากโลกไปยังที่ไหนสักแห่ง
ระหว่างดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
การคำนวณครั้งนี้ใช้เวลา 75 วัน
โดยใช้ Solid-state drives (SSD)
ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัทจำนวน 36 ตัว
ซึ่งเป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่ติดตั้ง
ใน Laptop รุ่นใหม่ล่าสุดจำนวนมาก
ซึ่งเก็บข้อมูลได้ 1 Petabyte (1 ล้าน Gigabyte)
.
.
[π Day 2024] WORLD RECORD Pi
Calculation! 105,000,000,000,000
[105 Trillion] Digits
Trillion สหรัฐ/ฝรั่งเศส ล้านล้าน
อังกฤษ(รุ่นดิ The Old) สามล้านล้าน
.
Processors ยังจำเป็นสำหรับ
ใช้ในการประมวลผลตัวเลข
ด้วยชิ้นส่วนประกอบที่มีประสิทธิภาพ
ยิ่งมากขึ้นเท่าไร จะช่วยลดเวลา
ที่ใช้ในการคำนวณที่จำเป็นได้เร็วขึ้น
อย่างไรก็ตาม พื้นที่จัดเก็บข้อมูล
ที่เชื่อถือได้และความจุขนาดใหญ่
มีความสำคัญมากกว่า
เพราะจำเป็นต้องจัดเก็บข้อมูล
จำนวนมหาศาลในกระบวนการดังกล่าว
" ความสำเร็จครั้งนี้ ไม่ใช่ความสำเร็จ
เพียงแค่เล็ก ๆ น้อย ๆ (จิ๊บ จิ๊บ)
มันเกี่ยวข้องกับการวางแผน
อย่างพิถีพิถัน การเพิ่มประสิทธิภาพ
และการดำเนินการ (ประมวลผล) ”
Brian Beeler ผู้บริหาร Solidigm ให้สัมภาษณ์
.
.
.
.
สถิติที่ผ่านมาในการหาค่า Pi
.
ในเดือนเมษายน ปี 2023
Solidigm หาค่า Pi ได้ 100 ล้านล้านหลัก
เท่ากับ Google Cloud ในปี 2022
.
.
.
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2021
นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ที่
University of Applied Sciences of the Grisons
ได้ทำลายสถิติค่า Pi ที่แม่นยำที่สุด
ด้วยทศนิยมมากกว่า 62 ล้านล้านตำแหน่ง
โดยใช้คอมพิวเตอร์ฉายา DAViS ที่
Competence Center for Data Analysis
ที่ใช้สร้างภาพ/การจำลอง คำนวณค่า Pi
“ การทำลายสถิติเป็นเพียงผลพลอยได้
จากงานวิจัยของเรา ในการเตรียม
โครงสร้างพื้นฐานคอมพิวเตอร์
ประสิทธิภาพสูงสำหรับงาน
ด้านการวิจัยและพัฒนา ”
Thomas Keller ให้สัมภาษณ์
.
.
.
ในปี 2020
สถิติค่า Pi ที่ 50 ล้านล้านหลัก
โดย Timothy Mullican
จาก Huntsville รัฐ Alabama
ที่ใช้ Personal Computer
.
.
.
.
.
DAViS Computer ทำลายสถิติของ
Timothy Mullican ที่ใช้เวลา 303 วัน
โดยใช้เวลาเพียง 1/3 ของเวลาเดิม
คิดเป็น 108 วัน 9 ชั่วโมง
แม้ว่าจะใช้ Algorithm แบบเดียวกัน
ในการคำนวณหาค่า Pi ก็ตาม
(Google เดิมใช้ Algorithm ในการค้นหา
มี Algorithm 16 แบบ+เงื่อนไขในค้นหา
แต่ปัจจุบันพัฒนาไปไกลกว่าเดิมมาก
เพราะประสิทธิภาพเครื่อง/ฐานข้อมูลดีขึ้น
ลำดับแรกมักมอบใหัผู้มีอุปการะคุณ(จ่ายเบึ้ย)
รองลงมาหัวข้อ/Www wait wait wait
ที่มีคนค้นหากันมากที่สุด
โดยนับจาก Cookies เสี่ยงทายที่เก็บไว้
โดย Google ดึงประมวลผลได้จากฐานข้อมูล
สะสมจากเครื่องทึ่คนค้นหาทั่วโลก
ถ้าใครเป็นสมาชิก Gmail ให้ความยินยอมไว้
ชอบค้นหาเรื่องอะไร และค้นหาบ่อย ๆ
อากู๋จะช่วยจดจำบันทึกไว้ที่ไอ้คล้าว Cloud
ก่อนดึงลงมาประมวลผลกับ Algorithm
จึงมักจะได้เรื่องราวที่สนใจ/ตรงประเด็น
แบบถูกกับรัดดวง ริสซึ่ ริดสีดวงทวาร
(หนังตลุง คือ ได้แรงอก ถึงอกถึงใจ
แบบคนมาโซดิส อาการแสบ ๆ เจ็บ ๆ มัน ๆ)
แต่ใครที่เข้ากลุ่มนิรนาม หนังชมพู บ่อย ๆ
ระวังเปิด Google ให้คนรอบข้างดู
อาจจะหน้าแหก หมอไม่รับเย็บได้
เว้นแต่เข้า Browser private/incognito
จะไม่จดจำค่าต่าง ๆ เหมือนเข้าแบบทั่วไป
ทึ่มีลักษณะอยากลืมกลับจำ อยากจำกลับลืม
.
.
อยากลืมกลับจำ
.
.
Computer DAViS
มีประสิทธิภาพเหนือกว่า
เจ้าของสถิติก่อนหน้านี้
ด้วยการเพิ่ม RAM
หน่วยความจำเข้าถึงโดยการสุ่ม
“ การคำนวณจุดทศนิยม
62.8 ล้านล้านตำแหน่ง
ต้องใช้ RAM ประมาณ 316 terabyte
(ประมาณ 324,500 gigabyte)
ตามความรู้ของเรา (ในเวลานั้น)
เราไม่สามารถซื้ออุปกรณ์ดังกล่าวได้
และหากทำได้ ก็จะมีราคาแพงมาก "
ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงใช้ Harddisk
เพื่อเพิ่ม RAM ในการคำนวณแทน
แม้ว่านักวิจัยวางแผนที่จะใช้คอมพิวเตอร์
ที่ทำการคำนวณเพื่อทำการคำนวณ
พลศาสตร์ของไหล การเรียนรู้เชิงลึก
และการวิเคราะห์ RNA ในอนาคต
แต่ทีมงานไม่มีแผนที่จะคำนวณ
ค่าทศนิยมของ Pi อีกต่อไป
และมั่นใจว่าอีกไม่นานนัก
จะมีคนมาแย่งตำแหน่งสถิตินี้ไปได้
เมื่อพิจารณาจากสถิติที่ผ่านมา
ผมคาดหวังว่าจะมีคนพยายาม
ทำลายสถิติครั้งต่อไป
น่าจะประสบความสำเร็จ
ภายในอีก 2 ปีข้างหน้า ”
Thomas Keller ให้ความเห็น
.
.
การใช้คอมพิวเตอร์(สมอง)ของคนเรา
สถิติโลกปัจจุบันสำหรับตัวเลข Pi
ที่คนทำได้มากที่สุดคือ 70,030
โดย Sharma Suresh Kumar
เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2015
ชนะ Rajveer Meen
ที่ทำได้ถึง 70,000
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2015
ตามข้อมูล Pi Wirld Ranking List
.
.
แม้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้
คอมพิวเตอร์จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
คนเราจะพบค่า Pi ที่ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน
แต่ไม่ว่าคอมพิวเตอร์จะทรงพลังแค่ไหน
คนเราคงไม่สามารถคลี่คลาย
จำนวนทศนิยมไม่รู้จบทั้งหมดได้
เพราะธรรมชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุดของค่า Pi
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://tinyurl.com/ms4mw8es
.
.
ผู้เขียนบทความ
.
.
.
Isaac Newton
ใช้อนุกรมอนันต์ หาค่า Pi π
ได้ทศนิยม 15 หลัก ท่านบันทึกว่า
" ผมค่อนข้างอายที่จะสารภาพว่า
ผมคำนวณตัวเลขได้ไม่กี่หลัก "
ท่านเคยติดดอย/เจ๊งกับหุ้น
บางคนว่าเก็งกำไร Futures ใน
South Sea Company
กองเรือสินค้าจากตะวันออกไกล
ที่ดูดีมีกำไรงดงาม ใครถือไว้จะร่ำรวย
ถ้าเป็นไปตามผลวิเคราะห์กิจการ
สุดท้ายกลายเป็นรายการต้มหมูจนสุก
ปั่นหุ้น ปั่น Futures กันบานตะไท
ใครเข้าก่อน ออกก่อนมีกำไร
ใครลุกขึ้นช้าสุด จ่ายรอบวง
จนท่านบรรลุสัจธรรมว่า
“ ผมคำนวณการเคลื่อนที่
ของบรรดาดวงดาวได้
แต่ผมไม่สามารถคำนวณ
ความบ้าคลั่งของฝูงชนได้ ”
ท่านเขียน Calculus เป็นภาษาละติน
จากจดหมายโต้ตอบกับเพื่อนซี้
Gottfried Wilhelm Leibniz สรุปว่า
“ ไม่ได้เขียนให้คนโง่อ่าน ”
เพราะรำคาญพวกหิวแสง พวกโชว์พาว
พวกคริสต์สุดโต่งที่ชอบใช้ศาลศาสนา
กลั่นแกล้งคนอื่น เช่น กาลิเลโอ
.
.
ในปี 1706
William Jones นักคณิตศาสตร์ชาว Welsh
คือ ผู้ริเริ่มใช้ Pi จากตัวอักษรกรีกโบราณ π
แทนค่าอัตราส่วนของเส้นรอบวงของวงกลม
ต่อเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม
.
.
.
Leonhard Euler คือ ผู้ใช้ตัวอักษรกรีกโบราณ
ค่า π เป็นที่นิยมใช้กันจากผลงาน
หนังสือคณิตศาสตร์ในช่วงปี ค.ศ.1736-1748
.
.
.
Srinivasa Ramanujan
แม้ว่าจะทำงานค่อนข้างโดดเดี่ยวในอินเดีย
แต่ก็ได้ผลิตผลงานคณิตศาสตร์ค่า Pi
ที่ใช้ในการคำนวณได้หลายสูตรมาก
.
.
เรื่องเดิม
.
จุดทศนิยมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกค้นพบในบันทึกของพ่อค้าอิตาลี
.
.
.
9 สมการคณิตศาสตร์ทึ่เปลี่ยนโลก
.
.
.
Maryam Mirzakhani สตรีนักคณิตศาสตร์ระดับโลก
.
.
Maryam Mirzakhani
.