#การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538
1 กรกฎาคม 2538 - พฤศจิกายน 2538 150 วัน ในกระทรวงศึกษาธิการ 11 นโยบาย 4 ปฏิรูป
หลังจาก ปฏิรูปราชการ 5 กรม ต้องเป็น
1) สำนักงานปลัดกระทรวง
2) กรมปฏิรูปสถานศึกษา
3) กรมปฏิรูปครู
4)กรมปฏิรูปหลักสูตร
5) กรมปฏิรูประบบบริหารสถานศึกษา
https://drive.google.com/file/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view?
แนวทางนี้หลายประเทศนำไปใช้ เช่นประเทศ ฟินแลนด์
# ปี 2539 คุณพ่อได้รับรางวัล และ ปริญญาเอกการบริหารการศึกษา
จากนโยบาย แนวทางการปฏิรูป และ คู่มือการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหลายประเทศนำไปใช้ และประสบผลสำเร็จ
During his trip to the Philippines, H.E. Mr Sukavich Rangsitpol was conferred an Honorary Degree of Doctor of Education by the Philippine Normal University. His will to reform education and strong leadership in educational management were highly commended.
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
2) แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่ 21 เริ่มใช้ ธันวาคม 2538
https://drive.google.com/file/d/15QlrFCwSFYi0cKoRV6-jIJODbiC6FPlK/view?usp=drivesdk
3) หนังสือ 180 วันในกระทรวงศึกษาธิการ ความสำเร็จเป็นรูปธรรม ของการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 พฤศจิกายน 2539 - พฤษภาคม 2540
https://drive.google.com/file/d/1JLvKeOom22AL7w_RBHFXOTC7nydqLtew/view?usp=drivesdk
UNESCO มอบ 3 รางวัลให้การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ปัญหาคือ นาง ดวงทิพย์ ผู้ประสานงาน UNESCO ร่วมกับ นักการศึกษาเลวๆ ปล้นรางวัล
1) การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานปฏิบัติการ จนกระทั่งสำเร็จ แต่ สภาการศึกษา โดยนายรุ่ง แก้วแดง ปล้นไป ให้สภาการศึกษา และ แก้ไขนโยบายการศึกษาไทยให้เละเทะ หลงทาง จนกระทั่ง ปัจจุบัน
2)รางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ ปี 2540 และ ตำแหน่ง บิดาแห่งสหกิจศึกษา นาย วิจิตร ศรีสะอ้าน ปล้นไป ธันวาคม 2540
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483 และอยู่ในทุกขั้นตอนของการปฏิรูปการศึกษาล้มเหลวตั้งแต่ 2542 จนกระทั่งเสียชีวิต
3)รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดบริการ การศึกษา นายประเวศ วะสี ปล้นไป
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
หลังจาก ปล้นรางวัล UNESCO ไปเเล้ว นักการศึกษาเลวๆ 2 คนนี้ ได้เป็น และ ข้าราชการเลวๆ 2 คน เป็น 4ใน 9 อรหันต์ ในเอกสารของคุณตุลย์ แห่งมติชน ซึ่ง ส่งผลให้ การศึกษาไทย #หลงทางอยู่ระหว่างป่าช้า และ ฮวงซุ้ย ( อ้างอิง คุณ วิโรจน์ ก้าวไกล มกราคม 2567)
# ผลงานโจรปล้นรางวัล UNESCO การศึกษาไทยจึงหลงทางอยู่ระหว่างป่าช้า กับฮวงซุ้ย ( อ้างอิง คุณวิโรจน์ ก้าวไกล 2567
http://www.educationnews.in.th/26688.html
25 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย (15+10)
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2566 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 25 ปีพอดี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 25 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 25 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ได้รับรางวัลUNESCO ด้านการศึกษา 3 รางวัล ระหว่างปี 2540-2541
1 กรกฎาคม 2538 - พฤศจิกายน 2538 150 วัน ในกระทรวงศึกษาธิการ 11 นโยบาย 4 ปฏิรูป
หลังจาก ปฏิรูปราชการ 5 กรม ต้องเป็น
1) สำนักงานปลัดกระทรวง
2) กรมปฏิรูปสถานศึกษา
3) กรมปฏิรูปครู
4)กรมปฏิรูปหลักสูตร
5) กรมปฏิรูประบบบริหารสถานศึกษา
https://drive.google.com/file/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view?
แนวทางนี้หลายประเทศนำไปใช้ เช่นประเทศ ฟินแลนด์
# ปี 2539 คุณพ่อได้รับรางวัล และ ปริญญาเอกการบริหารการศึกษา
จากนโยบาย แนวทางการปฏิรูป และ คู่มือการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหลายประเทศนำไปใช้ และประสบผลสำเร็จ
During his trip to the Philippines, H.E. Mr Sukavich Rangsitpol was conferred an Honorary Degree of Doctor of Education by the Philippine Normal University. His will to reform education and strong leadership in educational management were highly commended.
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
2) แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่ 21 เริ่มใช้ ธันวาคม 2538
https://drive.google.com/file/d/15QlrFCwSFYi0cKoRV6-jIJODbiC6FPlK/view?usp=drivesdk
3) หนังสือ 180 วันในกระทรวงศึกษาธิการ ความสำเร็จเป็นรูปธรรม ของการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 พฤศจิกายน 2539 - พฤษภาคม 2540
https://drive.google.com/file/d/1JLvKeOom22AL7w_RBHFXOTC7nydqLtew/view?usp=drivesdk
UNESCO มอบ 3 รางวัลให้การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ปัญหาคือ นาง ดวงทิพย์ ผู้ประสานงาน UNESCO ร่วมกับ นักการศึกษาเลวๆ ปล้นรางวัล
1) การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานปฏิบัติการ จนกระทั่งสำเร็จ แต่ สภาการศึกษา โดยนายรุ่ง แก้วแดง ปล้นไป ให้สภาการศึกษา และ แก้ไขนโยบายการศึกษาไทยให้เละเทะ หลงทาง จนกระทั่ง ปัจจุบัน
2)รางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ ปี 2540 และ ตำแหน่ง บิดาแห่งสหกิจศึกษา นาย วิจิตร ศรีสะอ้าน ปล้นไป ธันวาคม 2540 https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483 และอยู่ในทุกขั้นตอนของการปฏิรูปการศึกษาล้มเหลวตั้งแต่ 2542 จนกระทั่งเสียชีวิต
3)รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดบริการ การศึกษา นายประเวศ วะสี ปล้นไป
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
หลังจาก ปล้นรางวัล UNESCO ไปเเล้ว นักการศึกษาเลวๆ 2 คนนี้ ได้เป็น และ ข้าราชการเลวๆ 2 คน เป็น 4ใน 9 อรหันต์ ในเอกสารของคุณตุลย์ แห่งมติชน ซึ่ง ส่งผลให้ การศึกษาไทย #หลงทางอยู่ระหว่างป่าช้า และ ฮวงซุ้ย ( อ้างอิง คุณ วิโรจน์ ก้าวไกล มกราคม 2567)
# ผลงานโจรปล้นรางวัล UNESCO การศึกษาไทยจึงหลงทางอยู่ระหว่างป่าช้า กับฮวงซุ้ย ( อ้างอิง คุณวิโรจน์ ก้าวไกล 2567
http://www.educationnews.in.th/26688.html
25 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย (15+10)
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2566 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 25 ปีพอดี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 25 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 25 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที